Page 30 - 1-ebookสายอากาศ
P. 30
20
่
บทที 3
การออกแบบและสรางสายอากาศ
งานวิจัยที่ผานมาไดออกแบบและสรางสายอากาศไมโครสตริปลงบนแผนปริ๊น FR-4 ความหนา
ื
1.6 มิลลิเมตร สําหรับรับสัญญาณโทรทัศนระบบดิจิทัลภาคพ้นดิน ทําอยางไรจึงจะสามารถทําให
้
สายอากาศติดตั้งใชงานไดกบทกสภาพพนผิว เชนฝงลงบนแผนกระจกโคง ตดกบผนังอาคารทงท่บาน
ี
ั
ุ
ื
้
ั
ิ
ั
้
ิ
่
ั
ิ
ั
ั
ี
และสํานักงานใหมความสวยงาม ตดตงไวกับกระจกหนารถยนตหรือตดกบหนาจอเครืองรับโทรทศนใช
ุ
้
ุ
งานแทนสายอากาศชนิดหนวดกงหรือกางปลา งานวิจัยนีจึงมงเนนการพัฒนาสายอากาศไมโครสตริป
ชนิดออนแบบมีภาคขยายสัญญาณลักษณะฟลมบางขนาดเล็กบนแผน polyimide ชนิดหนาเดยว
ี
(Single Layer) นวัตกรรมใหมสายอากาศนี้มีคณสมบัติออนตัวโคงบิดงอได ลายเสนวงจรมีลักษณะเปน
ุ
ิ
โมโนโพล ขดวกวนเพอใหเกดการเหนียวนําจนเกดคา resonant สายอากาศถูกออกแบบท่ความถ่ยาน
ี
ี
ื
ิ
่
่
ี
ยู เอช เอฟ 510-790 MHz บนแผน Polyimide แบบฟลมบาง 0.3 มม. สายอากาศมขนาดกะทัดรัด
กวาง 3.5 ซม. ยาว 17 ซม.
3.1 การออกแบบ
เปนการออกแบบสายอากาศโครงสรางไมโครสตริปแบบแพทซโมโนโพลระนาบรวมชนิดออน
สายอากาศจากการออกแบบใหมีเสนลายวงจรเปนขดวกวน (Strip Meaner Line) ลงบนแผนฟลม
โพลีไอมายดความหนา 0.3 มิลลิเมตรชนิดหนาเดียว โครงสรางของแผนประกอบดวย 5 ชั้น ไดแกชั้น
้
Polyimide substrates, ชัน Adhesive, ชั้น Copper, ชั้น Adhesive, และชั้น Polyimide cover
รูปที่ 3.1 แสดงโครงสรางชั้นของแผนโพลีไอมายดชนิดหนาเดียว