Page 151 - E-Book-Teerapong-รวมผลงานSandbox
P. 151
การส่งข้อมูลสัญญาณชีพแบบหลายพารามิเตอร์ส าหรับการแพทย์แบบทางไกล
บทที่ 4
บทสรุป
ระบบวัดสัญญาณชีพแบบหลายพารามิเตอร์ส าหรับการแพทย์ทางไกลเป็นระบบวัดที่พฒนา
ั
และถูกออกแบบให้เหมาะสมกับการใช้งานที่บ้าน หรือนอกสถานพยาบาล ส าหรับผู้สูงอายุ ผู้ป่วยที่
ั
เป็นโรคเรื้อรัง หรือผู้ป่วยที่อยู่ระหว่างการพกฟน ข้อมูลที่วัดได้จะถูกบันทึกในเซิร์ฟเวอร์โดยอตโนมัติ
ื้
ั
พร้อมเวลาที่วัด นอกจากนี้ ระบบวัดนี้ยังมีฟงก์ชันของการประชุมทางไกลส าหรับการให้ค าปรึกษา
ั
จากแพทย์กับผู้สูงอายุหรือผู้ป่วย เพอช่วยสนับสนุนการแพทย์ทางไกล และลดความจ าเป็นในการมา
ื่
สถานพยาบาล ในอนาคตจะมีการพฒนาให้ระบบรองรับชนิดของสัญญาณชีพได้หลากหลายมากขึ้น
ั
และปรับระบบให้มีความยืดหยุ่นในการเลือกชนิดของสัญญาณชีพให้เหมาะสมกับผู้ใช้งานแต่ละบุคคล
ื่
ั
พร้อมทั้งน าระบบไปทดลองใช้งานในสภาวะจริงเพมขึ้น เพอน าข้อมูลมาปรับปรุงและพฒนาระบบ
ิ่
ต่อไป รูปแบบของการใช้งานอาจจะเป็นการใช้งานเฉพาะผู้ใช้งานที่บ้าน (User specific) หรืออาจจะ
เป็นการปรับรูปแบบให้ใช้กับการเก็บข้อมูลสุขภาพของสมาชิกในชุมชน เช่น หมู่บ้าน อย่างเป็นระบบ
ื่
ั
หรือเป็นประจ าสม่ าเสมอ ซึ่งในกรณีนี้จ าเป็นต้องมีการพฒนาส่วนที่ช่วยระบุตัวตนเพอใช้แยกข้อมูล
ของแต่ละบุคคล
ั
ุ
ี่
[เลขทสัญญารบทน E.๖๒-๐-(๒)-๐๐๑] 17
แบบ กทปส. ME-003