Page 149 - E-Book-Teerapong-รวมผลงานSandbox
P. 149
การส่งข้อมูลสัญญาณชีพแบบหลายพารามิเตอร์ส าหรับการแพทย์แบบทางไกล
#1
#3
#2
รูปที่ 3.13 ส่วนประกอบภายในของอุปกรณ์แบบมือจับ
โดยไมโครคอนโทรเลอร์ #1 และ #2 ดังรูปที่ 3.13 จะเป็นบอร์ด ESP32 Mini kit ที่ใช้ MCU
Xtensa Dual-Core 32-bit และมีหน่วยความจ าชนิด flash 4 MB โดยไมโครคอนโทรเลอร์ #1 และ
#2 นี้จะมีหน้าที่ค้นหา (scan) สัญญาณบลูทูธก าลังงานต่ าที่ส่งมาจากอปกรณ์เครื่องวัดและเชื่อมต่อ
ุ
อตโนมัติกับอปกรณ์เครื่องวัดความดันโลหิตและเครื่องวัดอณหภูมิร่างกายตามล าดับ โดยเมื่อท าการ
ั
ุ
ุ
วัดและได้ค่าการวัดจากอปกรณ์เครื่องวัดที่ท าการต่อเชื่อมอยู่ ไมโครคอนโทรเลอร์ทั้งสองนี้จะส่งค่า
ุ
สัญญาณชีพไปรวบรวมยังไมโครคอนโทรเลอร์ #3 ผ่านทาง UART port โดยไมโครคอนโทรเลอร์ #3
จ ะ ใช้เป็นบอร์ด ESP32 LoLin D 2 Pro ที่มีหน่วยความจ าชนิด flash 16 MB โดยเมื่อ
3
ุ
ไมโครคอนโทรเลอร์ #3 รับค่าความดันและอณหภูมิร่างกายจากไมโครคอนโทรเลอร์ #1 และ #2
ผ่านทาง UART port และรับค่าสัญญาณคลื่นไฟฟาหัวใจจากวงจรวัดคลื่นไฟฟ้าหัวใจผ่านทาง ADC ที่
้
มีความละเอยด 12 bit จากนั้นจะท าการส่งข้อมูลของสัญญาณชีพที่ก าลังท าการวัดอยู่ทั้งหมดไปยัง
ี
เซิร์ฟเวอร์ที่ใช้ในการจัดเก็บขอมูลโดยใช้ Post method ผ่านทางโปรโตคอล http
้
3.5 การทดสอบการใช้งานจริงที่บ้านผู้ป่วยในส่วนหนึ่งของโครงการจุฬาอารี
ได้น าระวัดสัญญาณชีพที่ประกอบด้วยอปกรณ์เครื่องวัดความดันรุ่น TD-3140 ของบริษัท
ุ
ุ
Taidoc Technology Corporation และเครื่องวัดอณหภูมิร่างรุ่น TD-1241 ของบริษัท Taidoc
Technology Corporation ไปใช้ในการวัดสัญญาณชีพในโครงการจุฬาอารี โดยได้พฒนาชุด
ั
ั
ื่
ุ
ไมโครคอนโทรเลอร์เพอให้สามารถต่อเชื่อมกับอปกรณ์เครื่องวัดทั้งสองได้โดยอตโนมัติและท าการส่ง
ี่
[เลขทสัญญารบทน E.๖๒-๐-(๒)-๐๐๑] 15
ั
ุ
แบบ กทปส. ME-003