Page 145 - E-Book-Teerapong-รวมผลงานSandbox
P. 145

การส่งข้อมูลสัญญาณชีพแบบหลายพารามิเตอร์ส าหรับการแพทย์แบบทางไกล







                                                                                                      ั
                                 ี
                       ความยาวเพยงพอที่จะน าไปวิเคราะห์ความผิดปกติของหัวใจด้วยการวิเคราะห์แปรปรวนของอตรา
                       การเต้นหัวใจ (Heart Rate Variability: HRV) [1]
                              จากสัญญาณที่บันทึกได้พบว่า  เริ่มต้นของการวัดสัญญาณเมื่อน านิ้วมาสัมผัสที่อิเล็กโทรดครั้ง

                       แรก สัญญาณที่ได้จากวงจรขยายจะมีการอิ่มตัวของสัญญาณคลื่นไฟฟ้าที่ได้จากวงจรขยาย (การอิ่มตัว
                                                                                ิ่
                       อาจเกิดที่ระดับไฟเลี้ยงบวกหรือระดับศูนย์ก็ได้ในรูปที่  3.8  เป็นการอมตัวที่ไฟเลี้ยงบวก)  เนื่องจากม ี
                                                               ั
                                            ั
                       ความแตกต่างกันระหว่างศกย์ไฟฟ้าของร่างกายกบวงจรขยายคลื่นไฟฟ้าหัวใจ  หลังจากนั้นสัญญาณ
                                                                                              ั
                       คลื่นไฟฟ้าหัวใจจะมีการปรับลู่เข้าสู่ค่าสมดุลใหม่   ซึ่งอัตราเร็วของการปรับตัวขึ้นกบค่าคงตัวเวลา
                       (Time constant) ของวงจรกรองผ่านสูงในวงจรขยายคลื่นไฟฟ้าหัวใจ สัญญาณคลื่นไฟฟาหัวใจที่บันทึก
                                                                                              ้
                       ได้มีคณภาพที่ค่อนข้างดี  เนื่องจากสามารถสังเกตเห็นยอดของคลื่น  QRS  ได้อย่างชัดเจน  ง่ายต่อการ
                           ุ
                       วิเคราะห์หาต าแหน่งของคลื่น QRS อาจจะมีการรบกวนจากคลื่นกล้ามเนื้อและแหล่งจ่ายก าลังอยู่บ้าง
                       การขยับเลื่อนของสัญญาณ Baseline สันนิษฐานว่า เกิดจากขยับของนิ้วมือขณะวัดคลื่นไฟฟ้าหัวใจ ซึ่ง

                       การขยับของนิ้วมือท าให้ค่าอมพีแดนซ์ที่จุดสัมผัสระหว่างนิ้วมือกับอิเล็กโทรดมีการเปลี่ยนแปลง
                                              ิ

                            2 1

                           ECG Signal (mV)  -1 0







                           -2
                             0            10           20           30           40           50           60
                                                                  Time (s)
                                                                   (a)
                            รูปที่ 3.8  ตัวอย่างของสัญญาณคลื่นไฟฟ้าหัวใจที่วัดจากนิ้วมือโดยใช้อิเล็กโทรดสแตนเลส


                       3.3 การออกแบบและพัฒนาระบบสารสนเทศเพ ่อส่งสัญญาณชีพร่วมกับสัญญาณภาพและเสียง

                       แบบตามเวลาจริง


                              จากการที่โครงข่าย 5G มีแบนด์วิดท์ (Bandwidth) ที่สูงท าให้เหมาะสมต่อการน าไปใช้ใน

                       การส่งข้อมูลภาพและเสียงแบบตามเวลาจริงร่วมกับสัญญาณชีพแบบหลายพารามิเตอร์ ซึ่งจะมี
                       ประโยชน์ในการประยุกต์ใช้งานในด้านการแพทย์ทางไกล โดยเจ้าหน้าที่ทางด้านสาธารณะสุขสามารถ

                        ู
                       พดคุยให้ค าปรึกษาทางด้านการแพทย์กับผู้ป่วยหรือผู้สูงอายุที่อยู่ที่บ้านไปพร้อมกับสั่งให้ผู้ป่วยหรือ
                                                                               ั
                       ผู้สูงอายุวัดสัญญาณชีพไปด้วยได้พร้อม ๆ กัน โดยในการวิจัยนี้ได้พฒนาระบบสารสนเทศขึ้นเพอให้
                                                                                                      ื่
                       สามารถสร้างการเชื่อมต่อข้อมูลภาพและเสียงของทั้งทางฝั่งคนไข้หรือผู้สูงอายุและบุคลากรทางแพทย์


                                   ั
                                      ุ
                       [เลขทสัญญารบทน E.๖๒-๐-(๒)-๐๐๑]                                                  11
                             ี่
                                                                                        แบบ กทปส. ME-003
   140   141   142   143   144   145   146   147   148   149   150