Page 141 - E-Book-Teerapong-รวมผลงานSandbox
P. 141

การส่งข้อมูลสัญญาณชีพแบบหลายพารามิเตอร์ส าหรับการแพทย์แบบทางไกล
















                                                                           เคร ่องวัดความดันโลหิต



















                                          เคร ่องวัดอุณหภูมิ              อุปกรณ์วัดคล ่นไ   าหัวใจ


                       รูปที่ 3.2 ภาพถ่ายระบบวัดสัญญาณชีพแบบหลายพารามิเตอร์ ในส่วนของฮาร์ดแวร์ประกอบด้วย เครื่องวัด

                                               ู
                       ความดันโลหิต เครื่องวัดอุณหภมิ และอุปกรณ์วัดคลื่นไฟฟ้าหัวใจ ในส่วนของซอฟต์แวร์ส าหรับรับส่งข้อมูล
                                                  สัญญาณชีพและการประชุมทางไกล


                              ข้อมูลสุขภาพของความดันโลหตและอณหภูมิร่างกายที่วัดได้จะถูกส่งผ่านการสื่อสารไร้สาย
                                                       ิ
                                                              ุ
                                                                                             ั
                       แบบบลูทธูก าลังงานต่ าไปยังไมโครคอนโทรลเลอร์ที่อยู่ภายในอปกรณ์วัดคลื่นไฟฟ้าหวใจแบบพกพา
                                                                           ุ
                                                                             ั
                       นอกจากนี้ไมโครคอนโทรลเลอร์ยังท าหน้าที่วัดสัญญาณคลื่นไฟฟ้าหวใจด้วย ข้อมูลสุขภาพทั้งหมด ได้แก่
                       ความดันโลหิต อุณหภูมิร่างกาย และสัญญาณคลื่นไฟฟ้าหัวใจ จะส่งผ่านไวไฟไปยังเครือข่ายอินเทอร์เน็ตเพื่อ
                       เก็บไว้ในฐานข้อมูลในระบบคลาวด์ (Cloud) การเข้าถึงข้อมูลสามารถท าได้ทั้งทางฝั่งผู้ใช้งานเองและทางฝั่ง

                                  ้
                       แพทย์หรือผู้ใหบริการด้านสาธารณสุขโดยใช้สมาร์ทโฟนหรือคอมพิวเตอร์ผ่านทางโปรแกรมเว็บบราวเซอร์
                       (Web browser) ทั่วไป เช่น Google-Chrome หรือ Safari เป็นต้น โดยไม่จ าเป็นต้องติดตั้งโปรแกรม
                                  ้
                       เพิ่มเติม ท าใหมีความสะดวกและความยืดหยุ่นในการใช้งานสูง นอกจากนี้ โปรแกรมสารสนเทศที่พัฒนาขึ้น
                       ยังสนับสนุนการประชุมทางไกล (Teleconference) ร่วมกับการแสดงสัญญาณชีพไปพร้อมกันแบบตามเวลา

                       จริง ท าให้แพทย์สามารถได้รับข้อมูลสัญญาณชีพของผู้ป่วยประกอบการพูดคุยซักถามอาการผู้ป่วย ซึ่งจะท า
                         ้
                       ใหผู้ป่วยสามารถรับค าปรึกษาจากแพทย์ในเบื้องต้นได้อย่างมีประสิทธิภาพและเท่าทันกับอาการของผู้ป่วย
                       โดยช่วยลดความจ าเป็นในการเดินทางมาสถานพยาบาล รูปที่ 3.3 แสดงภาพถ่ายการใช้งานอุปกรณ์เพื่อวัด
                       สัญญาณชีพชนิดต่าง ๆ




                       [เลขทสัญญารบทน E.๖๒-๐-(๒)-๐๐๑]                                                    7
                             ี่
                                      ุ
                                   ั
                                                                                        แบบ กทปส. ME-003
   136   137   138   139   140   141   142   143   144   145   146