Page 138 - E-Book-Teerapong-รวมผลงานSandbox
P. 138

การส่งข้อมูลสัญญาณชีพแบบหลายพารามิเตอร์ส าหรับการแพทย์แบบทางไกล








                              อย่างไรก็ตาม สัญญาณชีพหลายชนิดสามารถวัดได้ที่บ้านหรือสถานที่อนนอกสถานพยาบาล
                                                                                        ื่
                       และมีการพัฒนาให้ชนิดของสัญญาณชีพที่วัดบ้านได้เพมขึ้นเรื่อย [4]  มีงานวิจัยหลายชิ้นที่เกี่ยวข้อง
                                                                    ิ่
                       ระบบสัญญาณชีพที่บ้าน รวมถึงการน าข้อมูลที่รวบรวมได้มาใช้ช่วยวินิจฉัยเพอแจ้งเตือนสภาวะที่
                                                                                         ื่
                       ผิดปกติ


                       2.2 งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง

                                                                                            ื่
                                                        ั
                              Leite และคณะ [5] พยายามพฒนาระบบผู้เชี่ยวชาญจาก Fuzzy logic เพอท านายสภาวะ
                                                                                                        ื่
                       ของผู้ป่วยในห้อง ICU โดยน าข้อมูลจากสัญญาณชีพมาใช้ในระบบมาช่วยท านายความผิดปกติเพอ
                       ช่วยลดภาระของแพทย์และพยาบาล

                              Forkan และคณะ [6] ได้ใช้ข้อมูลจากสัญญาณชีพ เช่น อตราการเต้นหัวใจ ความดันโลหิต
                                                                              ั
                       อตราการหายใจ จากฐานข้อมูล MIMIC-II ของ MIT physiobank มาสร้างแบบจ าลองทาง
                        ั
                                   ื่
                       คณิตศาสตร์เพอที่จะท านายความผิดปกติของร่างกายที่อาจเกิดขึ้นโดยใช้ข้อมูลของสัญญาณชีพ
                       ปัจจุบันและในอดีตมาใช้ร่วมกันในการท านายซึ่งเหมาะส าหรับการใช้งานที่บ้าน
                              Kaniusas และคณะ [3] ได้ออกแบบอปกรณ์วัดคลื่นไฟฟ้าหวใจแบบ 2 อเล็กโทรดเพื่อใหมีความ
                                                                                                    ้
                                                                             ั
                                                            ุ
                                                                                       ิ
                       เหมาะสมกับการใช้งานที่บ้าน ผู้วิจัยได้พยายามออกแบบใหอปกรณ์มีการใช้พลังงานที่ต่ า (Low power
                                                                        ุ
                                                                       ้
                       consumption) และลดสัญญาณรบกวนจากแหล่งจ่ายก าลัง 50 Hz โดยการใช้วงจรกรองที่สามารถปรับตัว
                       ได้
                              Anliker และคณะ [7] ได้พัฒนาอปกรณ์รูปแบบสวมใส่คล้ายนาฬิกาข้อมือ เพื่อตรวจวัดสัญญาณ
                                                        ุ
                       ชีพแบบหลายพารามิเตอร์ ส าหรับผู้ป่วยที่มีปัญหาโรคหวใจ หรือ โรคทางเดินหายใจใช้งานที่บ้าน สัญญาณ
                                                                  ั
                       ชีพที่ตรวจวัด ได้แก่ ความดันโลหต คลื่นไฟฟ้าหวใจ ข้อมูลที่ตรวจวัดได้จะมีการส่งผ่านระบบ
                                                    ิ
                                                                 ั
                       โทรศัพท์เคลื่อนที่ไปยังศูนย์ทางการแพทย์เพื่อเก็บบันทึกและวินิจฉัยความผิดปกติ โดยคณะผู้วิจัยมี
                       วัตถุประสงค์ที่จะสามารถตรวจวัดสัญญาณชีพได้อย่างต่อเนื่องระยะยาว























                       [เลขทสัญญารบทน E.๖๒-๐-(๒)-๐๐๑]                                                    4
                                      ุ
                                   ั
                             ี่
                                                                                        แบบ กทปส. ME-003
   133   134   135   136   137   138   139   140   141   142   143