Page 139 - E-Book-Teerapong-รวมผลงานSandbox
P. 139
การส่งข้อมูลสัญญาณชีพแบบหลายพารามิเตอร์ส าหรับการแพทย์แบบทางไกล
บทที่ 3
ระบบวัดสัญญาณชีพแบบหลายพารามิเตอร์
ั
3.1 ภาพรวมของระบบวดสัญญาณชีพแบบหลายพารามิเตอร์ส าหรับการแพทย์ทางไกล
ระบบวัดสัญญาณชีพแบบหลายพารามิเตอร์ที่ได้พัฒนาขึ้นในโครงการวิจัยนี้มีบล็อกไดอะแกรม
แสดงการท างานดังแสดงในรูปที่ 3.1 สัญญาณชีพที่สามารถวัดได้ในระบบ คือ ความดันโลหต อณหภูมิ
ิ
ุ
ั
ั
ร่างกาย และสัญญาณคลื่นไฟฟ้าหวใจ โดยในส่วนของฮาร์ดแวร์ประกอบด้วย อปกรณ์วัดคลื่นไฟฟ้าหวใจ
ุ
ุ
แบบพกพา เครื่องวัดความดันโลหต เครื่องวัดอณหภูมิร่างกายแบบไม่สัมผัส (Non-contact
ิ
Thermometer) ซึ่งเครื่องวัดความดันโลหตและเครื่องวัดอณหภูมิที่ใช้ในระบบเป็นเครื่องที่มีขายในเชิง
ุ
ิ
พาณิชย์ เครื่องวัดความดันโลหตเลือกใช้รุ่น TD-3140 ของบริษัท Taidoc Technology Corporation
ิ
ุ
และเครื่องวัดอณหภูมิร่างกายเลือกใช้รุ่น TD-1241 ของบริษัท Taidoc Technology Corporation
คุณสมบัติจ าเพาะของเครื่องวัดความดันโลหตและเครื่องวัดอณหภูมิแสดงไว้ในภาคผนวก ก และ ข
ิ
ุ
ุ
ตามล าดับ สาเหตุหลักที่เลือกใช้เครื่องวัดความดันโลหิตและเครื่องวัดอณหภูมิทั้ง 2 รุ่นนี้เนื่องจากมีฟังก์ชัน
ของการสื่อสารข้อมูลไร้สายบลูทูธก าลังงานต่ า (Bluetooth Low Energy: BLE หรือ Bluetooth Smart)
ท าใหสามารถใช้ไมโครคอนโทรลเลอร์เชื่อมต่อแบบไร้สายเพื่อขอรับข้อมูลวัดผ่านบริการ (Service) โดย
้
มาตรฐานของบลูทูธก าลังงานต่ ารองรับข้อมูลสุขภาพบางประเภทเป็นพื้นฐานอยู่แล้ว เช่น น้ าหนัก ความดัน
ุ
ิ
ั
โลหต ปริมาณน้ าตาลในเลือด เป็นต้น ส่วนตัวอปกรณ์วัดคลื่นไฟฟ้าหวใจแบบพกพาเป็นอปกรณ์ต้นแบบที่
ุ
คณะผู้วิจัยพัฒนาขึ้นเอง รูปที่ 3.2 แสดงภาพถ่ายของระบบวัดสัญญาณชีพแบบหลายพารามิเตอร์ในส่วนของ
ฮาร์ดแวร์และตัวอย่างของหน้าจอแสดงผลของซอฟต์แวร์ส าหรับรับส่งข้อมูลสัญญาณชีพและการส่งสัญญาณ
ภาพรวมทั้งสัญญาณเสียงเพื่อการประชุมทางไกล
ี่
[เลขทสัญญารบทน E.๖๒-๐-(๒)-๐๐๑] 5
ั
ุ
แบบ กทปส. ME-003