Page 142 - E-Book-Teerapong-รวมผลงานSandbox
P. 142
การส่งข้อมูลสัญญาณชีพแบบหลายพารามิเตอร์ส าหรับการแพทย์แบบทางไกล
อุณหภูมิ
ความดันโลหิต คล ่นไ าหัวใจ
รูปที่ 3.3 ภาพถ่ายการใช้งานอุปกรณ์วัดข้อมูลสุขภาพในระบบวัดสัญญาณชีพแบบหลายพารามิเตอร์เพื่อวัด
ั
ความดันโลหิต อุณหภูมิร่างกาย และสัญญาณคลื่นไฟฟ้าหวใจ
3.2 อุปกรณ์วัดคล ่นไ าหัวใจ
ั
ั
อุปกรณ์วัดคลื่นไฟฟ้าหวใจที่พัฒนาขึ้นในโครงการวิจัยนี้ภายในมีวงจรขยายคลื่นไฟฟ้าหวใจชนิด 1
ุ
ิ
ิ
ช่องสัญญาณ และใช้อเล็กโทรดแหงแบบ 2 อเล็กโทรด อิเล็กโทรดที่ใช้ท ามาจากโลหะสแตนเลส อปกรณ์ที่
้
ั
พัฒนาขึ้นสามารถวัดคลื่นไฟฟ้าหวใจผ่านการใช้นิ้วหวแม่มือข้างซ้ายและขวาจับที่ขั้วอเล็กโทรดทั้งสอง การ
ั
ิ
ออกแบบในลักษณะนี้เพื่อสะดวกกบการใช้งานในการตรวจวัดสัญญาณชีพกับผู้สูงอายุหรือบุคคลทั่วไป การ
ั
พัฒนาวงจรขยายคลื่นไฟฟ้าหัวใจแบบ 2 อิเล็กโทรด (ซึ่งโดยทั่วไปแล้ววงจรขยายศักย์ทางชีวภาพ อย่างเช่น
ิ
ิ
วงจรขยายคลื่นไฟฟ้าหัวใจ จะเป็นแบบ 3 อิเล็กโทรด คือ มีอเล็กโทรดจ านวน 2 อเล็กโทรดส าหรับวัดความ
ิ
ิ
แตกต่างของศักย์ไฟฟ้าระหว่าง 2 จุด และมีอเล็กโทรดที่ 3 เป็นอเล็กโทรดอ้างอิง) การลดจ านวนอิเล็กโทรด
้
จาก 3 อิเล็กโทรดเหลือ 2 อิเล็กโทรดเพื่อใหง่ายแก่ผู้ใช้ทั่วไปตามบ้าน วงจรขยายคลื่นไฟฟ้าหัวใจที่พัฒนาขึ้น
ประกอบด้วยวงจรขยายแบบอนสตรูเมนเตชันที่ท างานร่วมกับวงจรอนทิเกรเตอร์เป็นวงจรภาคแรก และมี
ิ
ิ
ั
ั
วงจรกรองแบบไวงานที่มีการขยายสัญญาณ วงจรขยายคลื่นไฟฟ้าหวใจที่พัฒนาขึ้มีอตราขยายโดยรวม
เท่ากับ 750 เท่า มีแบนด์วิดท์อยู่ในช่วง 0.05-50 Hz สามารถใช้งานกับระดับแรงดันไฟเลี้ยงเดี่ยวอยู่ระหว่าง
3.3-5 V โดยระดับแรงดันอ้างอิง Vref อยู่ที่ครึ่งหนึ่งของค่าแรงดันของไฟเลี้ยง รูปที่ 3.4 แสดงไดอะแกรมของ
วงจรขยายคลื่นไฟฟ้าหวใจแบบ 2 อิเล็กโทรดที่ใช้ในโครงการวิจัย รูปที่ 3.5 ภาพถ่ายของวงจรต้นแบบที่ใช้
ั
ั
ั
ในการพัฒนา รูปที่ 3.6 แสดงผลตอบสนองเชิงความถี่ของวงจรขยายคลื่นไฟฟ้าหวใจ (กราฟอตราขยาย
เทียบกับความถี่) ที่ได้จากการทดลองเปรียบเทียบกับผลการคานวณทางทฤษฎี ซึ่งค่าความถี่ตัดมุม (Cut-off
frequency) ที่วัดได้จากผลตอบสนองเชิงความถี่สอดคล้องกับค่าที่ได้ออกแบบไว้ รูปที่ 3.7 ตัวอย่างของ
ุ
ี่
[เลขทสัญญารบทน E.๖๒-๐-(๒)-๐๐๑] 8
ั
แบบ กทปส. ME-003