Page 135 - E-Book-Teerapong-รวมผลงานSandbox
P. 135
การส่งข้อมูลสัญญาณชีพแบบหลายพารามิเตอร์ส าหรับการแพทย์แบบทางไกล
บทที่ 1
บทน า
การเพิ่มของจ านวนประชากรในกลุ่มผู้สูงอายุเป็นปัญหาที่ก าลังเกิดขึ้นในหลายประเทศทั่วโลก
รวมทั้งประเทศไทยซึ่งได้เข้าสู่สังคมสูงวัยแล้วในปี พ.ศ. 2548 [1] ด้วยความเสื่อมถอยของร่างกายท าให ้
ื่
ผู้สูงอายุส่วนใหญ่มีปัญหาทางด้านสุขภาพ โดยเฉพาะปัญหาเรองโรคเรื้อรังไม่ติดต่อ (Non-communicable
disease) เช่น โรคความดันโลหตสูง โรคเบาหวาน โรคหวใจ เป็นต้น การเพิ่มขึ้นของจ านวนประชากรใน
ิ
ั
กลุ่มผู้สูงอายุจะก่อให้เกิดภาระอย่างมากต่อระบบสาธารณสุข ซึ่งอาจก่อใหเกิดสภาวะที่สถานพยาบาลคับคั่ง
้
ไปด้วยผู้ป่วย ระยะเวลารอเพื่อเข้ารับการวินิจฉัยหรือรักษายาวนานเกินไป ดังนั้นแนวทางการด าเนินการ
ทางด้านสาธารณสุขในปัจจุบันเน้นการใช้โรงพยาบาลเป็นศูนย์กลางของการดูแลรักษาสุขภาพเป็นหลักอาจ
ไม่ใช่วิธีที่เหมาะสมที่สุด เนื่องจากทรัพยากรทางด้านสถานพยาบาล เครื่องมือทางการแพทย์ รวมถึงบุคลากร
ทางการแพทย์และพยาบาล อาจไม่เพียงพอกับความต้องการที่เพิ่มขึ้นหรือเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว
ด้วยความเจริญก้าวหน้าทางเทคโนโลยีในด้านต่าง ๆ ได้แก่ การสื่อสาร สารสนเทศ อิเล็กทรอนิกส์
รวมทั้งด้านอน ๆ ท าให้เราสามารถพัฒนาระบบหรืออปกรณ์ตรวจวัดหรือเฝ้าระวังข้อมูลสุขภาพได้ไม่จ ากัด
ื่
ุ
เฉพาะในสถานพยาบาล เช่น บ้าน ที่ท างาน หรือ คลินิก เป็นต้น รูปแบบของการให้บริการเฝ้าระวังหรือการ
ดูแลรักษาสุขภาพรูปแบบใหม่นี้สามารถน ามาใช้ร่วมกับระบบสาธารณสุขในปัจจุบัน เพื่อเพิ่มคุณภาพของ
การดูแลรักษาสุขภาพหรือการให้บริการทางด้านสาธารณสุข
รูปแบบของการอปกรณ์วัดมีได้หลากหลายรูปแบบ เช่น รูปแบบของอปกรณ์สวมใส่ (Wearable
ุ
ุ
devices) ที่ช่วยตรวจวัดข้อมูลสุขภาพได้ขณะในท ากิจกรรมในชีวิตประจ าวัน ข้อมูลสุขภาพที่ตรวจวัด เช่น
อัตราการเต้นหัวใจ กิจกรรม (activity) จ านวนก้าว อุณหภูมิ เป็นต้น หรืออาจจะอยู่ในรูปแบบของระบบวัด
ที่มีการวัดข้อมูลสุขภาพหลายชนิดเพื่อเป็นข้อมูลช่วยในวินิจฉัยของแพทย์ส าหรับการพักฟื้นหรือดูแลรักษา
สุขภาพที่บ้าน ซึ่งในโครงการวิจัยนี้มุ่งเน้นที่จะระบบวัดสัญญาณชีพ (Vital sign) แบบหลายพารามิเตอร์ผ่าน
เครือข่ายสื่อสารส าหรับการแพทย์ทางไกล เพื่อช่วยในการใหบริการเฝ้าระวังหรือดูแลรักษาสุขภาพที่บ้าน
้
สัญญาณชีพที่มีการตรวจวัดในโครงการนี้ ได้แก่ ความดันโลหิต อุณหภูมิร่างกาย คลื่นไฟฟ้าหัวใจ เป็นต้น ค่า
สัญญาณชีพช่วยบ่งชี้ถึงความปกติหรือความผิดปกติของร่างกาย หรือใช้ดูการฟื้นตัวของร่างกายจากสภาวะ
้
เจ็บป่วย ระบบวัดสัญญาณชีพที่พัฒนาขึ้นจะช่วยในการวัดใหมีการจัดเก็บอย่างเป็นระบบและเป็นประจ า
สม่ าเสมอ ช่วยลดความยุ่งยากซับซ้อนของวัดหรือบันทึกข้อมูลสุขภาพซึ่งมีมากกว่า 1 ชนิด โดยการส่งข้อมูล
สุขภาพเข้าไปบันทึกในฐานข้อมูลบนระบบคลาว์โดยตรง
[เลขทสัญญารบทน E.๖๒-๐-(๒)-๐๐๑] 1
ั
ุ
ี่
แบบ กทปส. ME-003