Page 130 - E-Book-Teerapong-รวมผลงานSandbox
P. 130
บทสรุปผู้บริหาร
การส่งข้อมูลสัญญาณชีพแบบหลายพารามิเตอร์ส าหรับการแพทย์แบบทางไกล
ตุลาคม 2563
ิ
จากความก้าวหน้าทางด้านการสื่อสาร เทคโนโลยีสารสนเทศ อเล็กทรอนิกส์ และด้านอน ๆ
ื่
ท าให้ในปัจจุบันมีความเป็นไปได้ที่จะพฒนาอปกรณ์หรือระบบที่สามารถตรวจวัดข้อมูลสุขภาพหรือ
ุ
ั
สัญญาณชีพ นอกสถานพยาบาล เช่น ที่บ้าน ที่ท างาน เป็นต้น ข้อมูลที่ตรวจวัดได้สามารถถูกส่งผ่าน
ระบบเครือข่ายสื่อสารไปบันทึกลงในฐานข้อมูลในระบบคลาวด์ การตรวจวัดข้อมูลสุขภาพอย่างเป็น
ประจ า และสม่ าเสมอจะช่วยในการดูแลรักษาสุขภาพตนเอง วินิจฉัยสภาวะความผิดปกติของร่างกาย
ั
ื้
การพกฟนหลังการรักษา สิ่งเหล่านี้ช่วยลดภาระที่มีต่อระบบสาธารณสุขเนื่องจากความต้องการที่
เพมขึ้นอย่างมากจากสภาวะการณ์ต่าง ๆ เช่น สังคมสูงวัย โรคอบัติใหม่ที่มีภาวการณ์ระบาดรุนแรง
ุ
ิ่
ในโครงการวิจัยนี้มีการพฒนาระบบวัดสัญญาณชีพแบบหลายพารามิเตอร์ส าหรับการแพทย์ทางไกล
ั
สัญญาณชีพที่ตรวจวัด ได้แก่ ความดันโลหิต อุณหภูมิร่างกาย และ สัญญาณคลื่นไฟฟาหัวใจ ซึ่งเป็น
้
สัญญาณชีพพนฐานที่ใช้บอกสภาวะการท างานของร่างกาย ระบบนี้ออกแบบให้มีการใช้งานที่ง่าย
ื้
ั
ื้
เหมาะส าหรับผู้สูงอายุ ผู้ป่วยที่เป็นโรคเรื้อรัง หรือผู้ป่วยที่อยู่ระหว่างการพกฟน ข้อมูลที่วัดได้จะถูก
บันทึกในเซิร์ฟเวอร์โดยอตโนมัติพร้อมเวลาที่วัด การเรียกดูข้อมูลสามารถท าได้ผ่านโปรแกรม web
ั
ิ
ั
browser บนสมาร์ทโฟน หรือ คอมพวเตอร์ส่วนบุคคล นอกจากนี้ ระบบวัดนี้ยังมีฟงก์ชันของการ
ประชุมทางไกลส าหรับการให้ค าปรึกษาจากแพทย์กับผู้สูงอายุหรือผู้ป่วย เพื่อช่วยสนับสนุนการแพทย์
ทางไกล และลดความจ าเป็นในการมาสถานพยาบาล
ก
แบบ กทปส. ME-003