Page 168 - E-Book-Teerapong-รวมผลงานSandbox
P. 168
้
ี
ั
โครงการ การโอนถ่ายข้อมูลภาพถ่ายรงสทางการแพทย์ (PACS) ผ่านระบบเครอข่ายไรสาย 5G
ื
บทที่ 3
ระเบียบวิธีวิจัย
วิธีการ/ขั้นตอนการดำเนินการวิจัยและพัฒนา
รูปแบบงานวิจัย
การศึกษานี้เป็น การวิจัยกึ่งทดลอง ใช้กลุ่มทดลอง 1 กลุ่ม วัดผลก่อนและหลัง (The One-
Group Pretest-Posttest Quasi-experimental Designs)
สถานที่วิจัย
คณะทันตแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เจาะจงเลือก จุดทดสอบสัญญาณ 3
ตำแหน่ง ใน คณะทันตแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
คือ (1) อาคารสมเด็จย่า ๙๓ ชั้น 1, 9, 11
(2) อาคารทันตแพทยศาสตร์เฉลิมนวมราช ๘๐ ชั้น 3, 6, 11
และ (3) อาคารบรมนาถศรีนครินทร์ ชั้น 1, 3, 12
เครื่องมือในการทดสอบ
(1) เครื่องคอมพิวเตอร์โน๊ตบุ๊ค
(2) สาย LAN เชื่อมต่อกับระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์คณะฯ
(3) อุปกรณ์เครือข่าย Chula WiFi
(4) อุปกรณ์ Air Card WiFi 4G, 5G Customer-Premises Equipment (CPE)
(5) โปรแกรมทดสอบ Ping
วิธีการทดสอบ
(1) ขอไฟล์ x-ray ผู้ป่วยจากระบบ PACS (รูปภาพไฟล์ dicom) จำนวน 28 รูปภาพ
(2) นำ upload เข้าสู่ Cloud Server (ที่ทางทรูจัดเตรียมให้)
(3) ทดสอบโดยการวัด Download speed: ความเร็วจากการใช้เวลารับส่งข้อมูล Download
ิ
speed จากเครื่องคอมพวเตอร์โน๊ตบุ๊คไปที่ข้อมูลไฟล์ X-Ray PACS ใน Cloud Server มีหน่วยเป็น
มิลลิวินาที (ms)
(4) การทดสอบ 1 ไฟล์ จะทดสอบตามประเภท จำนวน 3 ครั้ง แล้วทำเป็นค่าเฉลี่ยของ
Download speed ในหน่วย Megabit per second (Mbps)
[เลขทสัญญารบทุนE.๖๒-๐-(๒)-๐๐๑] 12
ี่
ั
แบบ กทปส. ME-003