Page 166 - E-Book-Teerapong-รวมผลงานSandbox
P. 166
ี
ั
้
ื
โครงการ การโอนถ่ายข้อมูลภาพถ่ายรงสทางการแพทย์ (PACS) ผ่านระบบเครอข่ายไรสาย 5G
บทที่ 1
บทนำ
ที่มา และความสำคัญของโครงการ
ด้วยคณะทันตแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โดยภาควิชารังสีวิทยา ได้นำระบบ
็
PACS (Picture Archiving and Communication System) ซึ่งเป็นระบบงานด้านการเกบรูปภาพทาง
การแพทย์หรือภาพถ่ายทางรังสี มีการรับ-ส่งข้อมูลภาพในรูปแบบดิจิตอล มาใช้ในการจัดการรับส่ง
ิ
ข้อมูลผ่านระบบเครือข่ายคอมพวเตอร์ จากภาควิชารังสีไปยังคลินิกต่าง ๆในคณะ เป็นระยะเวลากว่า
10 ปีและในปัจจุบันมีการขยายการส่งข้อมูลไปยัง Unit ทันตกรรม (เก้าอทำฟน) ในแต่ละตัวโดยตรง
ั
ี้
ทั้งนี้โรงพยาบาลคณะทันตแพทยศาสตร์มีแผนการขยาย Unit ทันตกรรมจากในปัจจุบันจำนวน
ประมาณ 400 ตัว ไปเป็น 600 ตัวและมีการย้ายและขยายคลินิกไปไว้ยังอาคารใหม่ 19 ชั้น คือ อาคาร
ิ่
บรมนารถศรีนครินทร์ ซึ่งทำให้ต้องมีการเพมเติมขยายจุดให้บริการดูภาพถ่ายรังสี โดยต้องมีการเดิน
ิ
สายสัญญาณคอมพวเตอร์รองรับไว้ด้วย จึงเกิดความไม่สะดวก มีค่าใช้จ่ายและเกิดความล่าช้าในการ
ดำเนินการ ดังนั้นการรับ-ส่งข้อมูลภาพในรูปแบบดิจิตอลผ่านทางระบบเครือข่ายคอมพวเตอร์ที่มี
ิ
ความเร็วสูงจึงจำเป็นต่อการให้บริการรักษาคนไข้ของคณะทันตแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
วัตถุประสงค์ และขอบเขตของโครงการ
ื่
เพอทดสอบการส่งภาพถ่ายรังสีเปรียบเทียบความเร็วในการ Download หรือ Download
speed ของระบบ Lan, ChulaWiFi, 4G (True Aircard), 5G wire และ 5G wireless โดยมีขอบเขต
ของโครงการ ทดสอบจากจุดทดสอบสัญญาณ 3 ตำแหน่ง ใน คณะทันตแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์
มหาวิทยาลัย คือ (1) อาคารสมเด็จย่า ๙๓ ชั้น 1, 9, 11 (2) อาคารทันตแพทยศาสตร์เฉลิมนวมราช ๘๐
ชั้น 3, 6, 11 และ (3) อาคารบรมนาถศรีนครินทร์ ชั้น 1, 3, 12
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
คณะทันตแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มีระบบการส่งข้อมูลภาพถ่ายรังสีได้รวดเร็ว
ประหยัดและมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น
ี่
[เลขทสัญญารบทุนE.๖๒-๐-(๒)-๐๐๑] 10
ั
แบบ กทปส. ME-003