Page 52 - E-Book-Teerapong-รวมผลงานSandbox
P. 52
โครงการจัดตั้งและบริหารงานศูนย์ทดสอบ 5G
ตารางที่ 4-1 แสดงรายละเอียดการใช้งานเครื่อง server
VM ID Hostname vCPU RAM Disk OS Research Project Project Head Remarks
A001 tokyo 4 32GB 640GB Ubuntu 18.04 Hospital Air Quality ผศ.ดร. อัจฉริยา สุริยะวงค์
A002 cps 1 8GB 500GB Ubuntu 20.04 Service Robot รศ.ดร.รัชทิน จันทร์เจริญ
A003 berlin 4 8GB 100GB Ubuntu 20.04 POP Bus รศ. เจิดกุล โสภาวนิตย์
A004 siam 10 32GB 250GB Ubuntu 18.04 ML Tests
A005 vrtg-5g 8 32GB 1TB Ubuntu 18.04 Video Analytic รศ.ดร.สุภาวดี อร่ามวิทย์
4.3 การด าเนินการตามประกาศ Regulatory Sandbox
ตามที่คณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ ได้
ออกประกาศ กสทช. เรื่องหลักเกณฑ์การอนุญาตให้ใช้คลื่นความถี่เพื่อการพัฒนาและทดสอบ
นวัตกรรมในพื้นที่ก ากับดูแลเป็นการเฉพาะ (Regulatory Sandbox) เพื่อส่งเสริมให้เกิดการพัฒนา
นวัตกรรมในพื้นที่ต่างๆ นั้น จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยได้ด าเนินการขอเป็นผู้ประสานพื้นที่ก ากับดูแล
เป็นการเฉพาะ และ กสทช. ได้อนุญาตโดยก าหนดระยะเวลาอนุญาตเป็นเวลา 5 ปี ตั้งแต่วันที่ 11
ธันวาคม 2562 ถึงวันที่ 10 ธันวาคม 2567 โดยครอบคลุมพื้นที่ดังแสดงในรูปที่ 4-7
รูปที่ 4-7 แสดงพื้นที่ sandbox ของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
คลื่นความที่ได้รับอนุญาตให้ใช้งานในพื้นที่ sandbox มี 8 ย่านความถี่ ดังนี้
1. ย่านความถี่ 700 MHz (703-803 MHz)
[เลขที่สัญญารับทุน E.๖๒-๐-(๒)-๐๐๑] 42
แบบ กทปส. ME-003