Page 53 - E-Book-Teerapong-รวมผลงานSandbox
P. 53
โครงการจัดตั้งและบริหารงานศูนย์ทดสอบ 5G
2. ย่านความถี่ 900 MHz (920-925 MHz)
3. ย่านความถี่ 2500 MHz (2500-2690 MHz)
4. ย่านความถี่ C-Band (3300-3800 MHz)
5. ย่านความถี่ 5 GHz (5850-5925 MHz)
6. ย่านความถี่ 26 GHz (24.25-27.00 GHz)
7. ย่านความถี่ 28 GHz (27.00-29.50 GHz)
8. ย่านความถี่ Millimeter Wave (57-76 GHz และ 81-86 GHz)
การพัฒนานวัตกรรมในพื้นที่และการด าเนินการตามประกาศ 5G sandbox
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยได้ออกหนังสือยินยอมแก่บริษัท AIS บริษัท TRUE และบริษัทอิริค
สัน (ประเทศไทย) ให้ใช้พื้นที่มหาวิทยาลัยเพื่อการพัฒนาและทดสอบนวัตกรรมที่ใช้ย่านความถี่ 5G
ได้ แต่มีเพียงบริษัทอิริคสันเท่านั้นที่ได้ติดต่อเข้ามาเพื่อติดตั้งโครงข่ายและอุปกรณ์วิทยุคมนาคม และ
ได้ติดตั้งอุปกรณ์โครงข่ายที่อาคารจุฬาพัฒน์ 14 และบริเวณสยามสแควร์
4.4 การจัดงานเผยแพร่ผลงาน use cases ภายใต้แนวคิด “5G For Real”
โครงการได้จัดงาน “5G For Real” เพื่อเป็นการประชาสัมพันธ์การด าเนินงานของศูนย์ฯ
และเพื่อเผยแพร่งานวิจัยต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยี 5G เมื่อวันที่ 6 สิงหาคม 2563 ซึ่งได้เลื่อนมา
จากแผนเดิมที่ก าหนดไว้ในเดอนมีนาคม 2563 เนื่องจากการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัส Covid-19 ซึ่ง
ื
งานนี้ ทางโครงการได้รับเกียรติจากอธิการบดีจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และประธานคณะกรรมการ
กิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ ร่วมเป็นประธานในงาน และ
ยังได้รับความร่วมมือจากหน่วยงานต่างๆ เช่น ผู้ผลิตอุปกรณ์โทรคนนาคม ผู้ให้บริการโทรคมนาคมทั้ง
ในและต่างประเทศ รวมถึง Ministry of Internal Affairs and Communications, Japan ร่วม
บรรยายและจัดนิทรรศการอีกด้วย
[เลขที่สัญญารับทุน E.๖๒-๐-(๒)-๐๐๑] 43
แบบ กทปส. ME-003