Page 54 - การบริหารจัดการน้ำ
P. 54

13 ปาชายเลน : สมดุลธรรมชาติ เพิ่มสมบูรณสูทองทะเล



                    ระบบพื้นที่ชุมน้ำเทียม เปนระบบที่ใชกลไกการบำบัดเชนเดียวกับระบบพืช และหญากรอง จะแตกตางกัน
               ที่วิธีการ การปลอยใหน้ำเสียซึ่งขังในแปลงพืชที่ระดับความสูง 30 เซนติเมตรจากผิวดิน โดยมีระยะเวลากักพักน้ำ
               อยางนอย 1 วัน และเติมน้ำเสียใหมลงสูระบบใหไดระดับ 30 เซนติเมตร เทากับปริมาณน้ำเสียที่สูญหายไป
               จากการระเหยในแตละวัน และอีกวิธีการหนึ่งคือ เติมน้ำเสียลงสูระบบอยางตอเนื่องตลอดวัน โดยอัตราการไหล
               ของน้ำเสียเทากับปริมาณน้ำเสียใหมที่สามารถผลักดันไลน้ำเสียเกาออกจากระบบหมดในเวลา 1 วัน สำหรับพืช

               ที่ใชในการบำบัดคือ ธูปษีและกกกลม เมื่อครบระยะเวลา 45 วัน จะตัดพืชออก เพื่อเปนการรักษา
               ประสิทธิภาพในการบำบัดน้ำเสีย ซึ่งพืชเหลานี้ยังนำไปใชในการจักสาน เยื่อกระดาษ และเชื้อเพลิงได

































                    ระบบแปลงพืชปาชายเลน เปนการบำบัดน้ำเสียโดยใชแปลงพืชปาชายเลนอาศัยหลักการเจือจางระหวาง
               น้ำเสียกับน้ำทะเล ดวยการกักพักน้ำเสียกับน้ำทะเลที่ผสมกันแลวไวระยะเวลาหนึ่ง เพื่อเปนการเลียนแบบ
               ธรรมชาติ ตามระยะเวลาการขึ้น - ลงของน้ำทะเลในแตละวัน ทำใหเกิดการตกตะกอนของสารอินทรียในน้ำเสีย
               และระบบรากพืชปาชายเลนชวยในการเติมกาซออกซิเจนใหกับน้ำเสียและจุลินทรียในดิน เพื่อใหกลไกการยอย

               สลายสารอินทรียโดยจุลินทรียในดินมีประสิทธิภาพมากขึ้น  สำหรับสัดสวนในการผสมระหวางน้ำเสียและน้ำทะเล
               จะมีสัดสวนมากนอยเพียงใดขึ้นอยูกับคาความสกปรกของน้ำเสีย
                    ในดานของปญหาขยะชุมชนนั้น โดยทั่วไปรอยละ 50 ของขยะชุมชนจะเปนขยะอินทรียที่สามารถยอยสลาย
               ไดงาย สวนที่เหลือบางสวนสามารถนำไปผานกระบวนการเพื่อการนำกลับไปใชประโยชนไดใหม และสวนที่
                             
               ใชประโยชนไมได จะถูกนำไปฝงกลบอยางถูกตองตามหลักสุขาภิบาล โครงการฯ ไดทำการศึกษาวิจัยและพัฒนา
               เทคโนโลยีในการกำจัดขยะชุมชน ดวยวิธีการนำมาหมักทำปุย โดยการประยุกตการฝงกลบตามหลักสุขาภิบาล
               มาทำในกลองคอนกรีต เพื่อลดปญหาการสูญเสียพื้นที่ขนาดใหญ ชวยประหยัดคาใชจายและเพื่อความสะดวก

               ในการนำปุยที่ไดจากการหมักขยะมาใชประโยชน  สำหรับการสรางจะใชขยะอินทรียใสกลองคอนกรีตเปนชั้นๆ
               ระหวางชั้นจะใสดินแดงหรือดินนาเพื่อชวยเพิ่มประสิทธิภาพในกระบวนการยอยสลายของจุลินทรียและมีการ
               รดน้ำเพิ่มความชื้นและชวยในการลดอุณหภูมิในกระบวนการหมัก ซึ่งใชระยะเวลาในการทำปุยหมักขยะเพียง
               30 วัน

               54  ประมวลสาระนารูเรื่อง “น้ำ”
   49   50   51   52   53   54   55   56