Page 49 - การบริหารจัดการน้ำ
P. 49

ทั้งนี้  คลองลัดโพธิ์ไดชวยยนระยะทางการไหล
                                                    
                   ของแมน้ำเจาพระยาจาก 18 กิโลเมตร ใหเหลือเพียง
                   600  เมตร  รวมทั้งลดเวลาการเดินทางของน้ำออกสู
                   อาวไทยจาก 5 ชั่วโมงใหเหลือเพียง 10 นาทีเทานั้น
                   ทำใหชวยลดผลกระทบจากน้ำลนตลิ่งในเขตกรุงเทพฯ

                   และปริมณฑลจากสภาวะน้ำเหนือไหลหลากไดอยาง
                   มีประสิทธิภาพ โดยโครงการนี้สามารถระบายน้ำออกสู
                   อาวไทยไดเฉลี่ยถึงวันละประมาณ 40 ลานลูกบาศกเมตร
                        โครงการประตูระบายน้ำคลองลัดโพธิ์อันเนื่อง
                   มาจากพระราชดำริอยูภายใตการดูแลของหนวยงาน
                   หลัก 3 แหง คือ กรมชลประทาน กรุงเทพมหานคร

                   และคณะกรรมการพิเศษเพื่อประสานงานโครงการ
                   คิดเปนมูลคารวม 161.4 ลานบาทตอป ไมนับรวม
                   ประโยชนทางออมอื่น ๆ ไมวาจะเปนการชวยปองกัน
                   น้ำทวม ลดการสูญเสียของชีวิตและทรัพยสิน ตลอดจน
                   ลดเวลาในการเดินทาง ประหยัดคากระแสไฟฟาจาก
                   การสูบน้ำของระบบปองกันน้ำทวมเดิม อีกทั้งยังทำให
                   ที่ดินที่เคยเกิดน้ำทวมมีมูลคาเพิ่มขึ้น  รวมถึงลดภาระ

                   การบริหารงานแกไขปญหาน้ำทวมเฉพาะหนาของ
                   ภาครัฐไดอีกดวย
                        นอกจากประโยชนดานการระบายน้ำแลว
                   โครงการประตูระบายน้ำคลองลัดโพธิ์ยังเปนตัวอยาง
                   ของการผลิตกระแสไฟฟาพลังน้ำอีกดวย ซึ่งเรื่องนี้

                   ก็มาจากพระราชดำริของพระองคทานอีกเชนกัน โดย
                   พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช
                   มีพระราชกระแสรับสั่งกับนายวุฒิ สุมิตร รองราชเลขาธิการ และ นายสวัสดิ์ วัฒนายากร องคมนตรี
                                                  ี่
                   ณ สวนจิตรลดา พระราชวังดุสิต เมื่อวันท 17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2549 วา “โครงการคลองลัดโพธิ์จะทำประโยชน
                   ไดอยางมหัศจรรย มีพลังงานมหาศาล จะใชพลังงานน้ำที่ระบายผานคลอง ทำประโยชนอยางอื่นไดหรือไม”
                   พระราชดำรัสนี้ไดกลายเปนที่มาของ “โครงการศึกษาวิเคราะหศักยภาพของคลองลัดโพธิ์อันเนื่องมาจาก
                   พระราชดำริดานไฟฟาพลังงานน้ำ” ที่กรมชลประทานไดทำบันทึกขอตกลงความรวมมือทางวิชาการกับ
                                               ี่
                   มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร เมื่อวันท 29 มีนาคม พ.ศ. 2550 เพื่อรวมกันศึกษาวิเคราะหศักยภาพการผลิตไฟฟา
                   ของประตูระบายน้ำคลองลัดโพธิ์ โดยใชเวลารวมทั้งสิ้น 8 เดือน
                        ทั้งนี้ ทั้งสองหนวยงานมีการศึกษา วิจัย และประดิษฐเครื่องกำเนิดไฟฟาพลังงานจลน และชุดสำเร็จของ
                   เครื่องกำเนิดไฟฟาพลังงานจลนขึ้น รวมทั้งยื่นขอจดสิทธิบัตรงานทั้ง 2 ชิ้น ในพระปรมาภิไธย โดยไดดำเนินการ
                   ประกอบและติดตั้งกังหันทั้ง 2 แบบ กับโครงเหล็กที่ปรับขึ้นลงไดบริเวณทายประตูระบายน้ำคลองลัดโพธิ์
                   เพื่อทดลองผลิตกระแสไฟฟา ผลปรากฏวา ไดกำลังไฟฟาสูงสุดถึง 5.74 กิโลวัตต สูงกวาที่วิเคราะหและคำนวณ

                   ออกแบบไว

                                                                                   ประมวลสาระนารูเรื่อง “น้ำ”  49
   44   45   46   47   48   49   50   51   52   53   54