Page 46 - การบริหารจัดการน้ำ
P. 46

11 กังหันน้ำชัยพัฒนา : แกน้ำเสียเปนน้ำใส



               การดำเนินโครงการ
                    กังหันชัยพัฒนาเปนกังหันน้ำที่บำบัดน้ำเสียดวยวิธีเติมอากาศเพื่อเพิ่มออกซิเจนในน้ำ มีหลักการ คือ ทำใหน้ำ
               สัมผัสกับอากาศไดอยางทั่วถึงดวยการวิดน้ำขึ้นไป เมื่อน้ำสาดกระจายเปนฝอยในอากาศจะสงผลใหปริมาณออกซิเจน

               ในอากาศผสมผสานเขาไปในน้ำไดอยางรวดเร็ว เพราะพื้นที่ในการทำปฏิกิริยามีมากกวาเดิม เมื่อน้ำมีปริมาณ
               ออกซิเจนเพิ่มมากขึ้นก็ทำใหจุลินทรียที่อยูในน้ำสามารถยอยสลายสิ่งสกปรกในน้ำเสียไดอยางมีประสิทธิภาพ
               สงผลใหสามารถบำบัดน้ำเสียไดดี แหลงน้ำมีคุณภาพที่ดีขึ้น
                                                                           ี่
                                                                                      
                    กังหันน้ำชัยพัฒนา ไดรับสิทธิบัตรจากกรมทรัพยสินทางปญญา เมื่อวันท 2 กุมภาพันธ พ.ศ. 2536 หลังจาก
               เลขาธิการมูลนิธิชัยพัฒนาซึ่งเปนหนวยงานหลักที่สนองพระราชดำริในการพัฒนากังหันน้ำ รับพระราชทาน
               พระบรมราชานุญาตใหยื่นขอรับสิทธิบัตรเมื่อวันที่ 2 มิถุนายน พ.ศ. 2535 จึงนับวากังหันน้ำชัยพัฒนาเปนสิทธิบัตร

                                                                                           ี่
               ในพระปรมาภิไธยของพระมหากษัตริยพระองคแรกของไทยและครั้งแรกของโลก อีกทั้งยังถือวาวันท 2 กุมภาพันธ
               ของทุกปเปนวันนักประดิษฐอีกดวย  นอกจากรางวัลที่กลาวมาขางตน “กังหันน้ำชัยพัฒนา”  ยังไดรับรางวัล
               เหรียญทองจาก The Belgian Chamber of Inventor องคกรทางดานนวัตกรรมที่เกาแกของเบลเยี่ยมในงาน
               “Brussels  Eureka  2000”  ซึ่งเปนงานแสดงสิ่งประดิษฐใหมของโลกวิทยาศาสตร  ณ  กรุงบรัสเซลส
               ประเทศเบลเยี่ยม

               คุณคาตอสังคมไทย
                    “....กรุงเทพฯ ตองมีพื้นที่หายใจ แตที่นี่เราถือวาเปนไตกำจัดสิ่งสกปรกและโรค สวนสาธารณะถือวาเปนปอด

               แตนี้เหมือนไตฟอกเลือดถาไตทำงานไมดีเราตาย อยากใหเขาใจหลักของความคิดอันน...”
                                                                                  ี้
                                                                                                   
                    ครั้งหนึ่งที่บึงมักกะสันเกิดสภาวะน้ำเนาเสีย ดวยเหตุจากบึงมักกะสันเปนบึงใหญใจกลางกรุงเทพฯ ใชเปน
               แหลงระบายน้ำและรองรับน้ำเสียจากโรงงานรถไฟมักกะสัน ทำใหบึงมักกะสันตื้นเขินจากการตกตะกอนของ
               สารแขวนลอย กอปรกับรอบบึงมักกะสันมีชุมชนแออัด 3 ชุมชน รวมแลวมากกวา 1,000 ครัวเรือน จึงทำให
               สถานที่แหงนี้เปนแหลงสิ่งปฏิกูลและขยะมูลฝอย จนเกิดปญหาภาวะสิ่งแวดลอมเสื่อมโทรมและน้ำเนาเสีย
               กลายเปนแหลงมลพิษที่นาเปนหวง สงผลกระทบตอชีวิตของประชาชนแถบนั้นโดยตรง

































               46  ประมวลสาระนารูเรื่อง “น้ำ”
   41   42   43   44   45   46   47   48   49   50   51