Page 41 - การบริหารจัดการน้ำ
P. 41

แนวทางการบริหารจัดการน้ำ
                        การบริหารจัดการน้ำทวม ใชคลองมูโนะเปน
                   คลองระบายน้ำสายหลัก และใชคลองระบายปาเสมัส
                   คลองระบายสาย 4 (โตะแดง) และคลองสายซอยตาง ๆ

                   เพื่อระบายน้ำทวมขังออกจากพื้นที่โดยการ
                        1) ปดประตูระบายน้ำปากคลองมูโนะและทอ
                   ระบายน้ำปากคลองปาเสมัส เพื่อปองกันไมใหน้ำจาก
                   แมน้ำโก-ลกไหลเขาไปทวมพื้นที่การเกษตรในเขต
                   โครงการ
                        2) เปดประตูระบายน้ำกลางคลองมูโนะ ประตู

                   ระบายน้ำปลายคลองมูโนะ(ปูยู) ประตูระบายน้ำปลาย
                   คลองโตะแดง และประตูระบายน้ำอาคารประกอบ
                      ั้
                   คันกนน้ำตาง ๆ เพื่อเรงระบายน้ำลงแมน้ำโก-ลกและ
                   ลงทะเลอาวไทยตอไป หากระดับน้ำในแมน้ำโก-ลกสูงกวา
                   ระดับน้ำในเขตพื้นที่โครงการก็ใหปดอาคารประกอบ
                   คันกั้นน้ำ เพื่อปองกันไมใหน้ำในแมน้ำโก-ลกไหลเขามา
                   ทวมในเขตพื้นที่โครงการ

                        3) สูบระบายน้ำโดยสถานีสูบน้ำถาวร  จำนวน 4  สถานี  ไดแก  สถานีแฆแบะ  สถานีนาคออีบู
                   สถานีกัวลอตะ และสถานีบานโคกมือบา และติดตั้งเครื่องสูบน้ำเคลื่อนที่บริเวณพื้นที่น้ำทวมซ้ำซากตาง ๆ
                   เพื่อเรงสูบระบายน้ำออกจากพื้นที่
                        กรณีระดับน้ำในพื้นที่โครงการสูงกวาในคลองระบายน้ำมูโนะใหเปดประตูปลายคลองประกอบ
                   คันกนน้ำทุกแหงเพื่อชวยเรงระบายน้ำออกจากพื้นที่การเกษตรไปลงคลองมูโนะและไหลลงทะเลตอไป
                      ั้
                        ปญหาน้ำแลง (ขาดแคลนน้ำ)  พื้นที่เพาะปลูก
                   ที่สามารถสงน้ำโดยระบบแรงโนมถวงไดคือ พื้นทในเขต
                                                        ี่
                   ตำบลเกาะสะทอน มีพื้นที่เพาะปลูกประมาณ 5,650 ไร  
                   การสงน้ำในพื้นที่บริเวณน  จะทดน้ำที่ประตูระบายน้ำ
                                       ี้
                   ปลายคลองมูโนะ (ปูยู) เพื่อยกระดับน้ำใหสูงขึ้นที่ระดับ
                   +1.200 ม. (ร.ท.ก.) ถึง +1.500 ม.(ร.ท.ก.) และสงไป

                   ตามคลองสงน้ำสายตาง  ๆ  สวนพื้นบานโคกกูแว  โคกอิฐ -  โคกใน  สามารถสงน้ำไดทั้งโดยแรงโนมถวงและ
                   เครื่องสูบน้ำ ขึ้นกับระดับน้ำในคลองมูโนะ โดยตองทดน้ำหนาประตูระบายน้ำกลางคลองมูโนะที่ระดับ +1.750 ม.
                   (ร.ท.ก.) นอกจากนี้ยังมีพื้นที่หมูบานปศุสัตว - เกษตรมูโนะ 1,500 ไร บานโคกโบร 1,500 ไร บานสะหริ่ง 950 ไร
                   บานปลักปลา 400 ไร บานบอฆอ 1,500 ไร และบานทุงนาหวาน 850 ไร
                                                     
                        กอนการสงน้ำแตละฤดูกาลจะตองจัดประชุมราษฎรรวมกับเกษตรอำเภอและผูนำทองถิ่นเพื่อกำหนด
                                                              
                   พื้นที่สงน้ำรอบบริเวณการสงน้ำ และมีการประชาสัมพันธใหราษฎรในพื้นที่ทราบโดยทั่วกัน หรืออาจจะมีปายแสดง
                   รอบบริเวณการสงน้ำติดตั้งไวบริเวณตนคลองสงน้ำสายตาง ๆ เนื่องจากในชวงอัดน้ำชวยเหลือพื้นที่การเกษตรของ
                   เกาะสะทอน อาจทำใหเกิดน้ำทวมพื้นที่ดานเหนือน้ำบริเวณบานสะหริ่ง บานบอฆอ ตองแกปญหาโดยการ
                   บริหารจัดการน้ำตามขอตกลงของเกษตรกรผูใชน้ำของทั้ง 2 พื้นที่

                                                                                   ประมวลสาระนารูเรื่อง “น้ำ”  41
   36   37   38   39   40   41   42   43   44   45   46