Page 42 - การบริหารจัดการน้ำ
P. 42

9 คันกั้นน้ำ : บรรเทาน้ำหลากอยางเหมาะสม



                    การบริหารจัดการปญหาน้ำเค็ม พื้นที่การเกษตรในเขตอำเภอตากใบ สวนใหญอยูติดทะเลดานอาวไทย
               ไดแก บริเวณปากแมน้ำโก-ลก ริมแมน้ำบางนรา คลองปูยู และคลองโตะแดง ในชวงฤดูแลงปริมาณน้ำจืด
               ในลำน้ำดังกลาวมีปริมาณนอยลง น้ำเค็มก็จะรุกล้ำเขามาแทนที่ ทำความเสียหายใหแกพื้นที่เพาะปลูก
               และกระทบกับแหลงน้ำดิบเพื่อการผลิตน้ำประปาของการประปาสวนภูมิภาค อำเภอตากใบ โดยเฉพาะพื้นที่
                                                                     ี่
                                                                                               ั้
               เพาะปลูกในบริเวณตำบลเกาะสะทอน  การปองกันน้ำเค็มรุกเขาพื้นท  กรมชลประทานไดกอสรางคันกนน้ำเค็ม
               และอาคารประกอบรอบพื้นที่ตำบลเกาะสะทอน  เพื่อปองกันน้ำเค็มไหลบาเขาทวมพื้นที่เพาะปลูกบริเวณ
               บานโคกมือบา บานโคกโตะจุบ บานปะลูกา และบานปะดาดออีกดวย โดยเริ่มจากบริเวณคลองปูยูเชื่อมตอ
               กับแมน้ำโก-ลก บริเวณบานศรีพงัน และบานปะลุกาไปตามริมฝงซายของแมน้ำโก-ลก ชวงแมน้ำบางนรา
                              ั้
                                                                  ั้
               และคลองปูยู คันกนน้ำทั้งสองฝงคลองโตะแดงเชื่อมตอกับคันกนน้ำเค็มทางฝงซายของแมน้ำโก-ลก
                                                                                   ั้
                    ในการบริหารจัดการระบบปองกันน้ำเค็มรุกล้ำ จะตองปดประตูทอลอดประกอบคันกนน้ำทุกแหง เพื่อปองกัน
               น้ำเค็มไหลเขาพื้นที่ และหมั่นตรวจสอบเครื่องกวานบานระบายใหสามารถใชงานไดดีอยูเสมอ และมีการกอสราง
               ทำนบซองชั่วคราวในชวงหนาแลงตามความจำเปนอีกดวย
                    การบริหารจัดการปญหาน้ำเปรี้ยว น้ำที่ไหล
               ออกจากพรุโตะแดงในฤดูแลงและฤดูฝนเปนน้ำเปรี้ยว
               มีคุณสมบัติเปนกรดไมสามารถนำน้ำไปใชเพื่อการเกษตรได
               และน้ำเปรี้ยวยังทำใหเกิดปญหาดินเปรี้ยวตามมา
               ใชวิธีการแยกน้ำเปรี้ยวออกจากคลองน้ำจืดโดยบังคับ
               ใหน้ำเปรี้ยวระบายออกจากพื้นที่โครงการโดยคลอง

               ระบายน้ำเปรี้ยวสายตาง ๆ เชน คลองโคกไผ -คลองลาน
               (คลองระบายน้ำสาย 16) คลองระบายน้ำสาย 10 และ
               คลองระบายน้ำสาย 13  ไดอยางอิสระตลอดเวลา
               กอสรางคันกั้นน้ำเปรี้ยว อาคารเพื่อควบคุมการระบายและรักษาระดับ นอกจากนี้ยังนำน้ำจืดไปปรับปรุง
               ดินเปรี้ยวและเจือจางน้ำเปรี้ยวในบริเวณบานโคกอิฐ-โคกใน
                    อนึ่ง  ตามแนวคลองระบายน้ำมูดนะและคลองระบายน้ำปาเสมัส  มีคลองระบายน้ำเปรี้ยวไหลลง

               จำนวนหลายสายและบางแหงก็เปนอาคารรับน้ำจากพื้นที่ปาพรุ  ซึ่งออกแบบไวเพื่อชวยเรงระบายน้ำออกจาก
                   ี่
               พื้นทในชวงฤดูฝน สำหรับในชวงฤดูแลงจะตองปดประตูอาคารบังคับน้ำตาง ๆ เหลานี้ ไมใหน้ำเปรี้ยวไหลลงใน
                                                                                     
               คลองระบายน้ำทั้ง 2 สายดังกลาว เนื่องจากจะมีผลกระทบกับพื้นที่การเกษตรของโครงการ
                    นอกจากนี้ โครงการยังตองมีภารกิจในการควบคุมระดับน้ำในพรุโตะแดง ซึ่งเปนปาพรุขนาดใหญมีพื้นที่
               ประมาณ 187,000 ไร น้ำทวมขังอยูตลอดเวลา มีความสำคัญยิ่งในระบบนิเวศ ในฤดูแลงถาระดับน้ำในพรุ
               ลดลงมากจนผิวดินบางสวนแหงแลง แรธาตุตาง ๆ ที่สะสมอยูในดินจะทำปฏิกิริยากับอากาศ ทำใหเกิดไฟไหมปาได
               แตปรากฏการณนี้จะเกิดไดยากมาก โดยทั่วไปแลวสาเหตุไฟไหมพรุโตะแดง เกิดจากราษฎรเผาปาเพื่อขยาย
               พื้นที่ทำการเกษตรและที่อยูอาศัย ซึ่งทำความเสียหายตอพันธไมและสัตวปาชนิดตาง ๆ ดังนั้น จึงมีความจำเปน
                                                               ุ
                                                                       
               ตองควบคุมระดับน้ำที่อาคารบังคับน้ำรอบขอบพรุ จำนวน 8 แหง ไมใหมีระดับต่ำเกินไป โดยปกติจะควบคุม
               ระดับน้ำไวที่ +1.200 ม. (รทก.)








               42  ประมวลสาระนารูเรื่อง “น้ำ”
   37   38   39   40   41   42   43   44   45   46   47