Page 40 - การบริหารจัดการน้ำ
P. 40

9 คันกั้นน้ำ : บรรเทาน้ำหลากอยางเหมาะสม





















               ตัวอยางความสำเร็จ

                    “โครงการชลประทานมูโนะ มีประโยชนรวมกันหลายดาน เชน ปองกันน้ำเค็ม การระบายน้ำ และเก็บกัก
                       
               น้ำจืดไวใชเพื่อการชลประทาน”
               ความเปนมาของโครงการ
                    โครงการสงน้ำและบำรุงรักษาลุมน้ำโก-ลก (มูโนะ) เกิดขึ้นตามพระราชดำริของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว
               รัชกาลที่ 9  ในคราวเสด็จฯ  เยี่ยมเยียนราษฎรบริเวณบานปะดังยอ  หมูที่ 3  ตำบลมูโนะ  อำเภอสุไหงโก-ลก
               จังหวัดนราธิวาส ในเดือนกันยายน พ.ศ. 2517 โดยไดทรงทราบถึงความเดือดรอนของราษฎรที่ประกอบอาชีพ

               ทางการเกษตรในบริเวณทองที่ตำบลมูโนะ  ตำบลปูโยะ  อำเภอสุไหงโก-ลก  และตำบลโฆษิต  ตำบลนานาค
                                                                                           
               ตำบลพรอน  ตำบลเกาะสะทอน  ตำบลบางขุนทอง  อำเภอตากใบ  ซึ่งพื้นที่บริเวณดังกลาวนี้เปนที่ลุมชายฝง
               แมน้ำโก-ลกและชายพรุโตะแดงซึ่งมีระดับน้ำทวมอยูเปนประจำจนทำความเสียหายใหแกพื้นที่เพาะปลูก
               เปนประจำทุกป เพื่อเปนการบรรเทาความเดือดรอนของราษฎรพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว รัชกาลที่ 9
               ทรงพระราชทานพระราชดำริใหกรมชลประทานศึกษาและหาแนวทางการแกไขปญหาตาง ๆ ใหกับราษฎร
               กรมชลประทานจึงพิจารณาวางโครงการสงน้ำและบำรุงรักษาลุมน้ำโก-ลกขึ้น

               สภาพปญหา
                    น้ำทวม เนื่องจากพื้นที่โครงการเปนพื้นที่ราบลุมติดแมน้ำโก-ลก ในชวงฤดูฝนรับน้ำจากฝนที่ตกในเขต
               พื้นที่โครงการน้ำจากพรุโตะแดง และน้ำในแมน้ำโก-ลกไหลบาลนตลิ่ง ทำใหเกิดน้ำทวมพื้นที่การเกษตร

               และบานเรือนราษฎรในเขตอำเภอสุไหงโก-ลกและอำเภอตากใบ  การระบายน้ำออกจากพื้นที่ใชระยะเวลานาน
               เนื่องจากมีความลาดชันของพื้นที่นอยและเนื่องจากชวงเวลาดังกลาวมีน้ำทะเลจากอาวไทยหนุนสูงเปนอุปสรรค
               ในการระบายน้ำ
                    น้ำแลง ในฤดูแลงพื้นที่โครงการจะขาดแคลนน้ำ เนื่องจากฝนทิ้งชวงและน้ำในแมน้ำโก-ลกมีปริมาณ
               การไหลต่ำกวา 30 ลบ.ม./ วินาที ตามขอตกลงของการบริหารจัดการน้ำในแมน้ำโก-ลก ซึ่งเปนแมน้ำระหวาง
               ประเทศของประเทศไทยและประเทศมาเลเซีย จะไมอนุญาตใหสามารถผันน้ำเขาคลองมูโนะไปใชงานได
                    น้ำเค็ม เนื่องจากพื้นที่ในเขตอำเภอตากใบอยูติดทะเล ในชวงหนาแลง น้ำทะเลไหลยอนกลับเขามา

               ในแมน้ำโก-ลก และลำน้ำสาขา เชน คลองปูยู คลองโตะแดง ทำใหไมสามารถนำน้ำไปใชประโยชนในการเกษตร
               และเพื่อการผลิตน้ำประปาได
                    น้ำเปรี้ยว น้ำที่ไหลออกจากพรุโตะแดงผานพื้นที่การเกษตรในเขตโครงการ ซึ่งมีคา PH ต่ำ (มีคาความ
               เปนกรดสูง)  ชวงหนาแลงประมาณ 3.0  ชวงหนาฝนประมาณ 4.0  ทำใหดินมีสภาพเปนกรด  ไมสามารถ
               ทำการเกษตรไดหรือหากทำไดก็มีผลผลิตต่ำ วงจรของสภาพปญหาเกิดขึ้นซ้ำ ๆ เปนประจำทุกป

               40  ประมวลสาระนารูเรื่อง “น้ำ”
   35   36   37   38   39   40   41   42   43   44   45