Page 30 - Flower Book
P. 30

อัญชัญ





     ชื่อพื้นเมือง                อัญชัญ


     ชื่อวิทยาศาสตร์              Clitoria ternatea  L.

     ชื่อวงศ์                     LEGUMINOSAE-PAPILIONOIDEAE


     ชื่อสามัญ                    Blue pea, Butterfly pea


     ชื่ออื่นๆ                    แดงชัน (เชียงใหม่) เอื้องชัน (ภาคเหนือ)

     ถิ่นก าเนิด                  อเมริกาเหนือ



     ลักษณะทางพฤกษศาสตร์

            อัญชันเป็นไม้เลื้อยเนื้ออ่อน อายุสั้น ใช้ยอดเลื้อยพัน ล าต้นมีขนปกคลุม


     ราก  และล าต้น รากอัญชันประกอบด้วยระบบรากแก้ว รากแขนง และรากฝอย

     รากมีความลึกไม่มาก รากแขนงมักแทงขนานตามผิวดิน

     ใบ  เป็นประกอบแบบขนนก เรียงตรงข้ามยาว 6-12 ซม. มีใบย่อยรูปไข่ 5-7 ใบ

     กว้าง 2-3 ซม. ยาว 3-5 ซม. ปลายใบแหลม โคนใบมน ผิวใบด้านล่างมีขนหนา


     ปกคลุม

     ดอก  มีสีขาว ฟ้า และม่วง ดอกออกเดี่ยว ๆ รูปทรงคล้ายฝาหอยเชลล์ออกเป็นคู่

     ตามซอกใบ กลีบดอก 5 กลีบ ดอกบานเต็มที่ยาว 2.5-3.5 ซม. กลีบคลุมรูปกลม


     ปลายเว้าเป็นแอ่ง ตรงกลางมีสีเหลือง มีทั้งดอกซ้อนและดอกลา ดอกชั้นเดียว

     ออกดอกเกือบตลอดปี

     ผล  ผลแห้งแตก เป็นฝักแบน กว้าง 1-1.5 ซม. ยาว 5-8 ซม. เมล็ดรูปไตสีด า


     มี 5-10 เมล็ด

     ประโยชน์  เป็นแหล่งอาหารสัตว์ตามธรรมชาติ ส าหรับแทะเล็มของโค-กระบือ

     ปลูกเป็นพืชเดี่ยวส าหรับตัดสดเลี้ยงสัตว์หรือท าแห้งเป็นอาหารหยาบเลี้ยงสัตว์


     สรรพคุณยาพื้นบ้านอีสาน ใช้รากฝนกับรากสะอึกและน้ าซาวข้าว กินหรือทา

     แก้งูสวัด ต ารายาไทย ใช้ราก รสเบื่อเมา ปรุงเป็นยา กินและพอกถอน

     พิษสุนัขบ้า ดอก กินสดเป็นผัก ต้มดื่มเป็นน้ าสมุนไพร
   25   26   27   28   29   30   31   32   33   34   35