Page 26 - Flower Book
P. 26

ล าดวนแดง





     ชื่อพื้นเมือง                ล าดวนแดง


     ชื่อวิทยาศาสตร์              Melodorum fruticosum.

     ชื่อวงศ์                     ANNONACEAE


     ชื่อสามัญ                    Lamdman

     ชื่ออื่นๆ                    หอมนวล,หามโจน


     ถิ่นก าเนิด                  จ.ศรีสะเกษ  ประเทศไทย


        ลักษณะทางพฤกษศาสตร์


              ไม้ยืนต้นขนาดกลาง ล าต้น มีความสูงประมาณ 5-10 เมตรผิวเปลือกล าต้น

        เป็นสีเทา ผิวต้นเรียบมีรอยแตกเล็กน้อย แตกกิ่งก้านสาขาตามข้อต้น

                                                                     ิ่
                                            ั
                                  ี
                                                                                         ู
        ใบ  เป็นใบเดี่ยวออกเรยงสลับกนตามข้อ ล าต้นและกงลักษณะใบเป็นรปหอก ยาวร                          ี
        ปลายใบแหลม โคนใบมนแหลม ขอบใบเรียบเป็นคลื่นเล็กน้อย ผิวใบเรียบเป็นมัน
        สีเขียวเข้ม ขนาดใบกว้างประมาณ 3 - 5 เซนติเมตรยาวประมาณ 5-10 เซนติเมตร

        ดอก  เดี่ยว ออกตามส่วนยอดและตามง่ามใบมีกลีบดอก 6 กลีบซ้อนกันเป็นชั้นปลาย


        กลีบแหลม โคนกลีบดอกกว้าง ดอกมีขนาดเล็กสีเหลืองถึงส้มแดง กลิ่นหอม

        ผล   ผลกลมรี ปลายผลมน โคนผลแหลมผิวเรียบเกลี้ยงสีเขียวมีผลอยู่รวมกัน

        ประมาณ 1-2 ผล ภายในผลมีเมล็ดประมาณ 1-2 เมล็ด รสหวานอมเปรี้ยว

        รับประทานได้


        ประโยชน์  ปลูกเป็นไม้ประดับให้ร่มเงา เป็นพันธุ์ไม้พื้นเมืองที่ค่อนข้างหายาก จัดอยู่

        ในประเภทไม้ดอกหอม สรรพคุณทางสมุนไพร ดอกแห้งมีสรรพคุณเป็นยาบ ารุง

        ก าลัง บ ารุงโลหิต บ ารุงหัวใจ แก้ลมวิงเวียน แก้ไข้ บรรเทาอาการไอ


        เกสรมีสรรพคุณชูก าลัง บ ารุงหัวใจ หากน าไปผสมกับสมุนไพรชนิดอื่นจะช่วยบ ารุง

        โลหิต บ ารุงหัวใจ บ ารุงก าลัง และช่วยแก้ลม

        การขยายพันธุ์  การตอน การเพาะเมล็ด
   21   22   23   24   25   26   27   28   29   30   31