Page 56 - Demo
P. 56

 หลกั ฐานการเจาะหนิ เปน็ รปู ถว้ ย(Cupules)ตามภาพที่๑๔ ในมณฑลเฮ่อ หนานเขตเย่อ๕๑ เขตน่านโจว หินถ้วย บนฐานหินที่เจียงจุนหยาอายุ ๑๑ kBP สอดคล้องกับ ทุ่งไหหินของพวกคังคากในลาว ต่อเนื่องมายังพวกเขมร ทใี่ ชห้ นิ สรา้ งนครวดั นครธม และภายหลงั อยรู่ ว่ มกบั กลมุ่ O2a (๑๗ - ๒๘ kBP)๕๒ ที่มาจากอินเดียทางทวายมาหา ทองคาโภคทรัพย์ต่าง ๆ๕๓ และกลุ่มที่มาทางเรือโดย โกญฑัญญะในต้นคริสตกาลแฮปโลกรุป O3a3c
ออสโตรนเีชยี เคยอยบู่ รเิวณเฮอ่ เปย่ และเฮอ่ หนาน และเชอื่ วา่ ประมาณ ๔,๐๐๐ BC อยแู่ ถบแมน่ า้ แยงซเี กยี ง๕๔ ตอ่ มาถกู ออสโตรเอเชยี ตกิ ผลกั ดนั ลงใต้ และเขา้ สไู่ ตห้ วนั หลัง ๘ kBP เริ่มอพยพลงไปตามแนวซุนดา พบกลุ่ม O-M110 K-P79 และ mtDNA E M7c3 B4a1a ในมาดากสั การ์ และมาลาย๕ู ๕ ดเี อน็ เอทงั้ สองแบบยนื ยนั อพยพ ๒ ช่วง ๔ - ๕ และ ๘ - ๑๐ kBP๕๖ โดยออกจาก ไต้หวันประมาณ ๖ – ๘ kBP ประกอบด้วย E, M7c3, M9, B4a1 และ B4a1a อาจเป็นผลจากสงครามของ กษัตริย์เหลืองในยุทธการบ้านกวน เจ้าหลอ และสีเจ้า๕๗ ประมาณ ๒๕๐๐ BC ตามท่ีซือหม่า เชียน ระบุในสื่อจ้ี
ยคุ สามปฐมกษตั รยิ ์หรอื ซานหวง(๓,๕๐๐–๒,๗๐๐BC) จีนผลักดันชาวไทไปตอนกลาง และใต้
ชาวจีน มีกษัตริย์ท่ียิ่งใหญ่ ๓ องค์ ได้แก่ ฟู่ซี เสิ้นหนง และ นู่หัว ฟู่ซีมีบิดาเป็นเซี่ย มารดาชื่อ “หัวสี” แตง่ งานกบั ชอื่ “นหู่ วั ” สรา้ งอาณาจกั รแถบแมน่ า้ เหลอื ง ทาสงครามกับเสิ้นหนงเผ่าเอ้ียน (เย็น) ตามภาพที่ ๑๐ นู่หัวเป็นแม่ทัพหญิงช่วยแคว้นจี๋จากน้าท่วม ฆ่าเงือกดา
ภําพที่ ๑๓ กํารเพําะปลูกในจีน (World Atlas of History)
ภําพท่ี ๑๔ กํารสลักหินบูชําข้ําว และขุดหินแบบ Cupule (Jean Clottes)
(เผ่าเงือกไทดา) ซ่อมเสาสวรรค์โดยใช้ขาเต่า ไทเรียก ผู้นาเซี่ยแบบไทว่า “หัวเซี่ย” มีความเชื่อเรื่องนาค ทั้งฟู่ซี และนู่วาท่อนล่างเป็นนาค รวมทั้งการพบกาไลรูปเงือก อายุ ๔๐๐๐ ปี ตามภาพที่ ๑๑ ยืนยันความเชื่อเร่ืองนาค เหมือนไท และหลายเผ่ารวมทั้งพวกซ่งหนู และข่ึนม่าน แถบเสฉวน กุ้ยโจว๕๘ ไทและจีนมีความเชื่อเรื่องม่ิง๕๙
    ๕๑ Tang Huisheng, “New Discovery of Rock Art and Megalithic Sites in Central Pain China”, Rock Art Research 2012 V.29, NO.2 pp. 157 – 170.
๕๒ Gyaneshwer Chaubey et al. “Population Genetic structure in Indian Austroasiatic Speaker,” Mol Biol Evol. 28(2): 1013-24, Feb 2011. ๕๓ ประทุม ชุมเพ็งพันธ์, สุวรรณภูมิ ดินแดนทอง (กรุงเทพฯ: สํานักพิมพ์สุวีริยําสําส์น, ๒๕๔๖), หน้ํา ๕๙-๖๒
๕๔ เริงวุฒิ มิตรสุริยะ, ประวัติศําสตร์อําเซียน (กรุงเทพฯ: สํานักพมพ์ยิปซี, ๒๕๕๗), หน้ํา ๖๐
๕๕ Manfred Kayser “The impact of the Austronesian expansion: evidence from mtDNA and Y chromosomal Diversity in the Admiralty Islands of Melanesia,” Mol Biol Evol. 25(7): 1362-74, Jul 2008
๕๖ Pedro A. Soars et al. “Resolvig the ancestry of Austronesian-speaking Populations,” Hum Genet, 135: 309-326, 2016
๕๗ Wikipedia “Battle of Banquan & Battle of Zhoulu”, Retrieved July 24, 2000
๕๘ พลําดิศัย สิทธิธัญกิจ (อ้ํางอิงแล้ว), หน้ํา ๒๗๓ - ๒๗๖
๕๙ Burton Watson “Ssu-Ma Ch’ien: Grand Historian of China,” Columbia University Press, p.144 1963.
นาวิกศาสตร์ 55 ปีที่ ๑๐๔ เล่มที่ ๗ กรกฎาคม ๒๕๖๔
 


















































































   54   55   56   57   58