Page 58 - Demo
P. 58
วัฒนธรรมดงซอน รวมท้ังสัมฤทธ์ิสามขามาด้วย จึงพบ ทั่วประเทศไทย๖๙ นอกจากน้ียังพบภาพเขียนสีหน้าผา และถ้า ที่ถ้าผีหัวโต จังหวัดกระบ่ี ภาพเขียนฝ่ามือสีแดง ที่ผาแต้ม๗๐ จังหวัดอุบลราชธานี และประตูผา๗๑ ทั้งอายุ และลักษณะสอดคล้องกับผาลายในจีน
ราชวงศ์ “สาง” หรือ ราชวงศ์ “หยิน”๗๒ (๑,๖๐๐ - ๑,๐๔๖ BC) คือราชวงศ์ของบรรพบุรุษไท
ราชวงศส์ างกอ่ ตงั้ โดยพวกษาณไต หรอื ชาน (ฉาน)๗๓ ทเี่ มอื งปอ เคยอยรู่ ว่ มตน้ แมน่ า้ ฮวงเหอ และแมน่ า้ สางเจยี ง กับกลุ่มท่ีมีเครื่องปั้นดินเผาระบายสี พวกพื้นเมือง ระบายหม้อดา สร้างวัฒนธรรมใหม่ และสร้างรัฐเป็น ครง้ั แรกทเี่ ขาลงุ (LongShan) พบเครอ่ื งปน้ั ดนิ เผาดา รปู ไข่ บ่งบอกความเช่ือเรื่องไข่ฟ้า อยู่รวมกันที่เมือง “ปอ” ตอ่ มา ใน ๑๖๐๐ BC สางถงั นา ชาวเผา่ ตา่ ง ๆ ลม้ ราชวงศ์ เซี่ยใน “ยุทธการม่ิงเถียว” และก่อตั้งราชวงศ์สาง มีเมืองหลวงที่สาคัญถึง ๔ แห่งรวมท้ัง “เจ้าคึ” และ “อิน (Yin)” สร้างวัง สถานที่ศักดิ์สิทธิ์ อาวุธ และ เคร่ืองมือสงคราม ส่วนใหญ่ทาด้วยสัมฤทธิ์
โบราณวัตถุสมัยราชวงศ์สางที่อักษรจีนกากับอยู่ จานวนมากในกรุงปารีสปี พ.ศ.๒๕๐๓ โดยคุณสมัคร ปุรวาส อีกทั้งต่อมามีการศึกษาเพิ่มเติมยังพบลายกนก บนกลองสามขา กลองสมั ฤทธิ์ และศลิ ปะวตั ถอุ นื่ อกี มาก๗๔ ช่วยยืนยันว่าราชวงศ์สางเป็นของไท อีกท้ังกษัตริย์ ๕ องค์แรกใช้ช่ือนาหน้าว่า ไท ได้แก่ ไทยี่ ไทถิง ไทเจี๋ย ไทเจ้ิง และไทอู่ มีความเช่ือในไสยศาสตร์เหมือนไทย ในปัจจุบัน ทุกเช้าก่อนกษัตริย์ออกว่าราชการ จะให้ เทพีทานายชะตาและบันทึกผลบนกระดองเต่า และ กระดูกสัตว์ แม้แต่กษัตริย์เองก็ทาตนเป็นผู้พยากรณ์ เสียเอง โดยบูชาเทพสาง ยุคนี้มีนักรบหญิงจานวนมาก เชน่ ฟหู่ า้ ว (ฟา้ หา้ ว) และฟจู่ งิ แตก่ ม็ สี ตรลี ม่ เมอื งคอื ไทจี
ชาวจีนนับถือชาวไทเป็นพี่ใหญ่ตามคากล่าวของ หมอดอดด์ อีกทั้งธรรมเนียมยุค ๕ จักรพรรดิก็อ้างถึง ไทพ่ีใหญ่ (Ta - Tai - Li - Chi)๗๕ แต่ด้วยความเช่ือต่างกัน จึงต้ังกลุ่ม “หยาง” ตรงข้ามกับชาวสาง ในขณะที่ชาว เกาหลีที่เป็นเพื่อนบ้าน เช่ือท้ังหยินหยาง (Tai - Chi) เช่นเดียวกันกับตงอี้ ด้วยอยู่ใกล้ชิดกับไทยมากกว่า ดังนั้นการนับเลขเกาหลีจึงเหมือนไทยมากกว่าจีน ตามตารางที่ ๑
การพบ “ลายกนก” ซ่ึงเป็นลายเส้นของไทยใน
ตารางท่ี ๑ เปรียบเทียบการนับเลขของจีน เกาหลี (นับแบบจีน) และไท๗๖
๖๙ ชลธิรํา สัตยําวัฒนํา ด้ําแถน กําเนิดรัฐไท (กรุงเทพฯ: สํานักพิมพ์อีศําน, ๒๕๖๑), หน้ํา ๒๔๓-๒๔๗.
๗๐ สุรพล ดําหริกล, แผ่นดินอีสําน (กรุงเทพฯ: สํานักพิมพ์เมืองโบรําณ, ๒๕๔๙), หน้ํา ๔๗-๖๓.
๗๑ วลัยลักษณ์ ทรงศิริ et.al. ภําพเขียนสีพิธีกรรม ๓,๐๐๐ ปีที่ผําศักดิ์สิทธิ์ (กรุงเทพฯ: สํานักพิมพ์มติชน ๒๕๔๕), หน้ํา ๖๕ -๘๕
๗๒ Burton Watson, op. cit. P.13.
๗๓ กัญญํา ล ด. หน้ํา ๑๕๓
๗๔ ด. หน้ํา ๑๕๐
๗๕ Burton Watson, op. cit. p.110
๗๖ Silp Panthurangsee “the completion of Tai History, 2018” PSAKU International Journal of Interdisciplinary Research, 7(1): 252-263 ๗๗ Burton Watson, op. cit. p.110.
นาวิกศาสตร์ 57 ปีที่ ๑๐๔ เล่มที่ ๗ กรกฎาคม ๒๕๖๔