Page 183 - คุณค่า คุณภาพ คุณธรรม ถอดบทเรียนงานประชุมวิชาการ
P. 183
B3-203
19th HA National Forum
ศ.คลินิก พญ.ศิราภรณ์ สวัสดิวร
รองคณบดคี ณะแพทยศาสตรม์ หาวทิ ยาลยั มหาสารคามและผอู้ า นวยการโรงพยาบาลสทุ ธาเวช อดตี เคยดา รงตา แหนง่ ผอู้ า นวยการสถาบนั เด็กแห่งชาติมหาราชินี หรือท่ีหลายๆ คนคุ้นเคยในชื่อของโรงพยาบาลเด็ก ขณะที่ดารงตาแหน่งเป็นผู้อานวยการโรงพยาบาลเด็ก สามารถนาองค์กร ขับเคลื่อนการพัฒนาจนได้รับรางวัล Thailand Quality Award (TQA) ประจาปี 2556 รางวัล Thailand Energy Award และรางวัลในระดับ นานาชาติ คือ รางวัล UN award ประเด็นท่ีนามาถ่ายทอด ในวันนี้จึงเป็นเร่ืองการขับเคลื่อนการพัฒนาจนประสบผลสาเร็จเชื่อมโยงให้เห็นภาพ การทางานภายใต้ 3 คุณ (คุณค่า คุณภาพ คุณธรรม)
ด้านการรักษาพยาบาล
โรงพยาบาลเดก็ เปน็ โรงพยาบาลระดบั ตตยิ ภมู แิ ละรบั สง่ ตอ่ แตล่ ะวนั มผี มู้ ารบั บรกิ ารจา นวนมาก และมอี าการปว่ ยหนกั เนอ่ื งจากโรงพยาบาล เป็นสถานท่ีสุดท้ายของคนไข้ที่จะมารักษา โจทย์คือ “ทาอย่างไรที่จะทาให้คนไข้รู้สึกถึงคุณค่าท่ีได้รับจากการให้บริการของเรา” คุณค่าอย่างแรกคือ “รักษาโรคหาย” จะสามารถรักษาโรคยากๆ ให้หายได้ ก็ต้องพัฒนาทีมงาน จัดหาเครื่องมือของใช้ ให้สามารถให้บริการระดับ Excellence center ไดจ้ รงิ ในระหวา่ งเปน็ ผอู้ า นวยการ ไดพ้ ฒั นาเสรมิ ความเขม้ แขง็ ของ 4 ศนู ยค์ วามเปน็ เลศิ -excellent center เชน่ ศนู ยค์ วามเปน็ เลศิ “โรคไขเ้ ลอื ดออก” ท่ีตอนเม่ือโรคมาประเทศไทยใหม่ๆ ถ้าป่วยไข้เลือดออกมีโอกาสเสียชีวิตประมาณร้อยละ 20-30 (ช่วง พ.ศ. 2498-2499) ด้วยความทุ่มเท เอาจริง ในการคน้ หาวธิ กี ารรกั ษา สงั เกต บนั ทกึ อาการผปู้ ว่ ยอยา่ งใกลช้ ดิ ศ.คลนิ กิ พญ.สจุ ติ รา นมิ มานนติ ย์ สามารถสรปุ ปญั หา คน้ พบวธิ กี ารรกั ษาไขเ้ ลอื ดออก ถึงแม้จะเป็นการรักษาตามอาการ และมีการต่อยอดการให้การดูแลต่อโดย คณาจารย์รุ่นต่อๆ มา ปัจจุบันโรคนี้มีอัตราตายอยู่ต่ากว่า ร้อยละ 1 นับว่าได้ช่วยให้ ผู้ป่วยหายจากโรค ลดอัตราตายได้อย่างดี ตัวอย่างอีกศูนย์คือ ศูนย์ความเป็นเลิศการดูแลผู้ป่วยโรคหัวใจพิการแต่กาเนิด ได้พัฒนา ทมี งานจนสามารถใหบ้ รกิ ารดแู ลรกั ษา และรบั สง่ ตอ่ ผปู้ ว่ ยเดก็ โรคหวั ใจพกิ ารในระดบั ตตยิ ภมู แิ ละสงู กวา่ ดว้ ยมาตรฐานการดแู ลรกั ษาในระดบั สากล และ ทา งานเชงิ รกุ ดว้ ยการสรา้ งเครอื ขา่ ยการคดั กรองโรคหวั ใจพกิ ารแตก่ า เนดิ ทร่ี นุ แรงไปทวั่ ประเทศ ปจั จบุ นั มกี ารคดั กรองโดยใชเ้ ครอื่ งวดั ออกซเิ จน ในเลอื ดจากปลายนวิ้ เดก็ แรกเกดิ เมอ่ื พบความผดิ ปกตสิ ามารถสง่ พบแพทยแ์ ละรกั ษาไดเ้ รว็ กอ่ นทจี่ ะมอี าการหนกั เปน็ การ “เพมิ่ คณุ ภาพของการรกั ษา” นอกจากน้ีทีมผู้ดูแลได้พัฒนาศักยภาพจนสามารถเปลี่ยนล้ินหัวใจได้เป็นโรงพยาบาลแห่งแรกของประเทศไทย
และอีกตัวอย่าง คือศูนย์เชี่ยวชาญพิเศษ ด้านนมแม่ มีระดับความเป็นเลิศในระดับน้องๆ ศูนย์ความเป็นเลิศ ทาอย่างไรผู้ป่วยเด็กที่เป็น เด็กพิการแต่กาเนิด เด็กคลอดก่อนกาหนด มีความพิการและความอ่อนแอ ไม่มีแรงดูดนมแม่ จะให้ได้รับนมแม่ ซ่ึงจะเป็นแหล่งอาหารที่จะให้ ท้ังภูมิคุ้มกันและการเจริญเติบโต ได้มีการสนับสนุนความรู้ความสามารถ และกาหนด “กลยุทธ์ 10 ข้ัน ช่วยทารกป่วยที่รักษาในโรงพยาบาล ได้กินนมแม่” (สนใจศึกษาเพิ่มเติมได้ที่เว็บไซต์โรงพยาบาลเด็ก http://www.childrenhospital.go.th ) เป็นการย้าบทบาทการบริหารของ โรงพยาบาล ซ่ึงผู้บริหารต้องคิดเสมอว่า “ทาอย่างไรจะสามารถ สร้างคุณภาพให้เกิดข้ึน และส่งมอบคุณค่าน้ีไปสู่คนไข้และพ่อแม่ของเด็ก” นอกจากน้ี ยังมีผลงานการพัฒนา ได้รับการยอมรับมีผลลัพธ์ที่ดีด้านการสร้างเสริมสุขภาพในระดับประเทศ เช่น โครงการ บ๊าย บาย ขวดนม ช้าไป โรคภัยตามมา เป็นต้น ด้านการทางานเชิงรุกในระดับประเทศ ศ.คลินิก พญ.ศิราภรณ์ สวัสดิวร ซึ่งอยู่ในตาแหน่งที่ต้องรับผิดชอบดูแล แก้ปัญหาเด็ก ในระดับประเทศ ได้สนับสนุนทีมงานโรงพยาบาลเด็กออกไปทางานเชิงรุก ให้การดูแลกลุ่มเด็กท่ีมีความเสี่ยงได้รับพิษจากสารตะกั่ว (เมื่อเด็กได้รับ สารพิษจากตะก่ัวเข้าไปแล้วจะส่งผลเสียชัดเจนต่อร่างกายและระดับสติปัญญา โดยเฉพาะสมองท่ีกาลังพัฒนาจะไม่สามารถกลับคืนเป็นปกติได้ ทาให้ไอคิวต่า และถ้าได้รับในปริมาณสูงจะมีผลต่อสมอง ตับ และไต ทาให้มีอาการซีด ชัก และเสียชีวิต) มีรายงานว่า พื้นท่ีอาเภออุ้มผาง จังหวัดตาก พบว่าเป็นพ้ืนท่ีมีเด็กเส่ียงต่อการสัมผัสสารตะกั่ว จึงเกิดการทางานร่วมกันระหว่างกระทรวงสาธารณสุข กรมควบคุมมลพิษ กระทรวง ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เข้าไปช่วยแก้ปัญหาและจัดการเชิงระบบได้
“สะดวก สะอาด ปลอดภัย เป็นมิตร เอื้อให้สุข แม้เจ็บป่วย”
สืบเนื่องจากรู้สึกสะท้อนใจจากท่ีได้พูดคุยกับคนไข้ที่ OPD พบว่า คนไข้ตื่นต้ังแต่ตี 3 และมีความลาบากในการเดินทาง คือ ใช้มอเตอร์ไซด์ มาตอ่ รถเมล์ จนถงึ อนสุ าวรยี ช์ ยั สมรภมู ิ และใชว้ ธิ กี ารเดนิ พรอ้ มกบั อมุ้ เดก็ พกิ ารมาทโี่ รงพยาบาล นอกจากนนั้ คนไขบ้ างคนทยี่ งั ใสส่ าย NG tube ดว้ ย อีกท้ังห้ิวกระเป๋าพะรุงพะรังซึ่งเป็นความลาบากมาก ดังน้ันโรงพยาบาลเด็กจึงได้พัฒนาเร่ืองของความสะดวก โดยการจัดให้มี one stop service สําาหรับทารกและเด็กพิการ ปรับกระบวนการทาบัตรประจาตัวผู้พิการจากเดิม 2 วัน เหลือเพียง 15 นาที และการเปล่ียนสิทธิบัตรจากเดิม 45 วัน ลดเหลือเพียงคร่ึงวันเท่านั้น เรื่องดังกล่าวเป็นตัวอย่างของการทาให้เกิดคุณภาพ โดยเริ่มที่ผู้ทางานมีคุณธรรม เม่ือเห็นผู้ป่วยและญาติลาบาก ได้รับรู้และนาปัญหานั้นมาช่วยจัดการเพ่ือให้ผู้ป่วยและญาติสะดวก สบายข้ึน
สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน) 183