Page 185 - คุณค่า คุณภาพ คุณธรรม ถอดบทเรียนงานประชุมวิชาการ
P. 185

B3-203
19th HA National Forum
  พญ.ดรุณี พุทธารี
หัวหน้าหน่วยวิจัยไวรัสวิทยา จังหวัดกาแพงเพชร กล่าวถึง บทบาทด้านการดูแลงานวิจัย ได้ตั้งโจทย์ให้กับตัวเองว่า “ทําาอย่างไร จึงจะให้ เกดิ ความสมดลุ ระหวา่ งคาํา ถามทางวทิ ยาศาสตรก์ บั คาํา ตอบทางการแพทย์ เพอื่ ใหเ้ กดิ ประโยชนก์ บั ประเทศไทย” หนว่ ยวจิ ยั ไวรสั วทิ ยากา แพงเพชร ได้รับทุนสนับสนุนจากสถาบันสุขภาพแห่งชาติของสหรัฐอเมริกา ต่อเนื่องมาเกือบ 20 ปี ในการทาโครงการวิจัยในพื้นที่ เพื่อป้องกันและควบคุม โรคติดเช้ือ ซึ่งโรคติดเชื้อที่สาคัญของจังหวัดกาแพงเพชร โรคไข้เลือดออก ไข้หวัดใหญ่ และในปีที่ผ่านมาได้ทาเพิ่มเรื่องไข้ซิกา
ในการทาวิจัย แม้ว่าเราได้โจทย์ที่ผ่านการวางแผน และมองด้านคุณค่าที่จะได้รับมาดีแล้ว แต่ถ้าหากเราไม่มีคุณธรรม เราคิดง่ายๆ โดยหา อาสาสมคั รตามทฝี่ รง่ั ตอ้ งการ เกบ็ เลอื ดสง่ ไป สามารถนา มาแปรผลรวู้ า่ เดก็ ไทยมอี บุ ตั กิ ารณเ์ กดิ ขนึ้ เทา่ ไหร่ ตอบโจทยท์ างวทิ ยาศาสตรไ์ ดจ้ บโครงการ เพียงแค่นั้น แต่ถ้า เรามีคุณธรรม “เรามองว่า ทําาอย่างไร จะทําาให้งบประมาณก้อนน้ี เกิดประโยชน์ในพ้ืนที่ และบุคลากรที่ทําางานอย่างมีความสุข” มันก็จะเกิดประโยชน์จริงกับชุมชน
ในการทางาน บุคลากรในพื้นท่ีเป็นหัวใจสาคัญมาก เดิมเจ้าหน้าที่มีงานล้นมืออยู่แล้ว เวลาเม่ือเราลงไปทา เราต้องพูดคุยให้ทุกคนเข้าใจ จะทาให้คนในพื้นที่เห็นว่าประโยชน์ท่ีเราทาโรคนี้คืออะไร เราไม่ได้ต้องการตอบโจทย์ทางวิทยาศาสตร์เพียงอย่างเดียว แต่ระบบที่เราวางในงานวิจัย เช่น “การเฝ้าระวังแบบเชิงรุก” คือ มีการค้นหาผู้ป่วยเชิงรุก โดยมีอาสาสมัครติดต่อเรา ค้นหาอาการป่วยตั้งแต่แรกเร่ิม ตรวจพบการติดเชื้อตั้งแต่ แรกเริ่ม ควบคุมการติดเช้ือในกลุ่มครอบครัว ในรัศมี 80 เมตร ทาให้กรมควบคุมโรคสามารถเข้าไปค้นหาว่ามีคนไข้ป่วยต่อเนื่องต้ังแต่แรกเร่ิมในรัศมี นี้หรือไม่ ผลลัพธ์ท่ีเกิดขึ้นในสิ่งท่ีทามา คือ อัตราการป่วยตายลดลง สามารถพบผู้ป่วยต้ังแต่แรก ส่งผลให้อัตราการเสียชีวิตน้อยลง เพราะผู้ป่วย อยู่ในมือเรา เราสังเกตอาการได้แต่แรก นอกจากนี้โครงการวิจัยท่ีทายังได้ประโยชน์ในพื้นที่อีกคือการตรวจจับตัวเชื้อ หรือวิธีค้นหาตัวเชื้อไวรัส โดยวิธี PCR ซ่ึงทาการตรวจให้ทุกอาเภอของจังหวัดกาแพงเพชรโดยไม่เสียค่าใช้จ่ายใดๆ เป็นการบริหารจัดการโครงการ หรือ economy ท่ีเรามอง คุณค่าในสิ่งทีเราทา แล้วตอบโจทย์ไปยังชุมชน
ด้านความรู้ท่ีให้กับสังคม
มีการวางแผน จัดกลุ่มให้ความรู้ท้ังในระดับจังหวัด ระดับอาเภอ และระดับ รพ.สต. การให้ความรู้ในระดับ รพ.สต. ใช้โอกาสเวลาออกพื้นท่ี จะใช้ วิธีการจัดประชุมให้ความรู้ที่ รพ.สต. เน่ืองจากเจ้าหน้าที่ รพ.สต.มีน้อย ใช้โอกาสนี้ในการเป็นที่ปรึกษาให้กับเจ้าหน้าที่ รพ.สต.รวมถึงการ ช่วยตรวจใน Case ยากๆ หรือ case ที่จาเป็นต้องส่งต่อไปโรงพยาบาล เป็นต้น ซ่ึงน่ีคืออีกหน่ึงมุมมองของการบริหารจัดการจากส่วนอ่ืนท่ีไม่ใช่ ภาครัฐ ที่ช่วยสนับสนุนในพื้นท่ี
ด้านการบริหารบุคลากร
ในปัจจุบันในหน่วยวิจัยไวรัสวิทยา จังหวัดกาแพงเพชร มีบุคลากรประมาณ 10 คน มีการกาหนดบทบาหน้าที่ของแต่ละคน มากกว่า 1 หน้าท่ี เช่น พยาบาลไม่ได้ทาหน้าที่พยาบาลเพียงอย่างเดียว ต้องเป็นบุคลากรในการให้ความรู้ และตรวจสอบคุณภาพ รวมถึงในบางคร้ังต้องเป็นแม่ ของเด็กๆ ด้วย ในโครงการล่าสุด ทีมต้องดูแลเด็กตั้งแต่เกิด เพราะรับ case เข้าโครงการตั้งแต่ตั้งครรภ์ ในการวิจัยต้องมีการเจาะเลือดเด็ก ในการ เจาะเลือดเด็กเราจะให้แม่อยู่ด้วยทุกคร้ัง หากแม่ยังไม่สบายใจเราจะยังไม่มีการแทงเข็มให้กับเด็ก แม้จะเสียเวลาก็ตามเพราะ “เราเสียเวลา แค่ตรงน้ันดีกว่าเราจะทําาให้เด็กเสียใจไปตลอดชีวิต”
ในโครงการหนึ่งโครงการท่ีเราเห็นท้ังครอบครัว ได้ตอบโจทย์ “คุณค่าของความเป็นคน ตอบคุณค่า ที่เป็น Content กลับไปยังผู้ให้ทุน ตอบโจทย์คุณค่าทางเศรษฐกิจ เพราะเราบริหารจัดการให้คืนกลับสู่ชุมชน และตอบโจทย์ด้านงานคุณภาพด้วย”
พญ.มยุรา กุสุมภ์
เลขานุการรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข ได้กล่าวเช่ือมโยงถึงงานวิจัย ว่า งานวิจัย ถ้าทาเรื่องท่ีไม่ตอบโจทย์ ไม่สอดคล้อง หรือไม่ได้ใช้ประโยชน์ ถือว่าไม่มีคุณธรรม เพราะใช้เงินเยอะ ตัวอย่างที่ ดี ของ พญ.ดรุณี พุทธารี ท่ีมองในภาพรวม ปกป้อง ดูแลผู้ที่เข้าร่วม โครงการวิจัย ดูลึกถึงสิ่งแวดล้อมและครอบครัวด้วย เกิดประโยชน์จากงานวิจัย อีกทั้งได้มีการคืนข้อมูลอธิบายผลการส่งตรวจให้คนไข้ที่ร่วมวิจัยรับรู้ ถือว่าเป็นงานวิจัยท่ีมีทั้งคุณภาพ คุณธรรม และคุณค่า
 สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน) 185
 




















































































   183   184   185   186   187