Page 207 - คุณค่า คุณภาพ คุณธรรม ถอดบทเรียนงานประชุมวิชาการ
P. 207

B1-204
19th HA National Forum
 ส่งเสริมให้ผู้ป่วยมี Self-Management โดยต้องเร่ิมท่ีขอบเขต competency และกลับมาสร้างทีมที่ประกอบด้วยสหสาขาวิชาชีพทางานร่วมกัน โดยอาศยั ความชา นาญของแตล่ ะสาขาวชิ าชพี ทเ่ี หมาะสมกบั งาน เพอื่ ใหม้ ปี ระสทิ ธภิ าพและคณุ ภาพ ดงั นนั้ ควรกลบั ไปดงู านของเราวา่ ควรทา อยา่ งไร ให้เกิดคุณภาพระดับนโยบายต้องกลับไปทบทวน Resource Utilization ต้องหาทางลดภาระงานท่ีไม่จาเป็น เช่น หัวหน้าตึกถูกดึงเวลาไปทางาน อย่างอื่น นอกตึกไม่มี senior staff ให้ปรึกษาเพื่อแก้ปัญหาพยาบาลหน้างานไม่มีโอกาสสะท้อน Top down policy เป็นต้น
การแก้ไขเริ่มต้นได้จาก
- จัดสรรเวลาในแต่ละวันเพื่อให้ทุกคนทบทวนผลลัพธ์ของงานและเสนอแนวทางแก้ไข - Daily Problem Solving/Daily Management System
- พยาบาลต้องเปลี่ยน Mind Set
• From the Loser’s view to be the Winner’s view “Loserจะเห็นปัญหาในทุกทางออก Winner เห็นจะทางออกในทุกปัญหา”
• Nurse manager to be Nurse Leader หัวหน้าพยาบาลต้องมีความรู้เร่ืองการบริหาร ความรู้ของวิชาชีพ เพ่ือให้แยกแยะ ออกงานที่เป็นงานวิชาชีพที่ต้องกากับให้เกิดมาตรฐานตามท่ีควรจะเป็นในวิชาชีพ กับงานที่ต้องเอ้ือกับผู้อื่นเพื่อให้เกิด ส่ิงแวดล้อมท่ีจะให้พยาบาลสามารถรักษามาตรฐานวิชาชีพ
• Supervising & developing staff
• Engage all staff in improvement process ปลูกฝังพยาบาลรุ่นใหม่ให้มีแนวคิดว่าจะทาอย่างไรในการแก้ไขปัญหา
บทส่งท้าย
การใช้กาลังคนทางการพยาบาลให้เพิ่มคุณค่าคุณภาพบริการสุขภาพ ควรเน้นการแก้ไขแก้ไขเชิงระบบ เร่ิมโดยการมองและปรับทิศทาง ของการจัดระบบบริการแบบเดิมที่แบ่งการดูแลผู้ป่วยเป็น 3 ระดับ คือ Primary Secondary Tertiary เป็นการดูแลผู้ป่วยโดยแบ่งกลุ่มตาม ความต้องการดูแลของผู้ป่วยเป็นหลัก ได้แก่ Primary care, Acute Care, Ambulatory Care, Long Term Care, Home Care และ End of life Care มีการทางานร่วมกันเป็นทีมโดยสหสาขาวิชาชีพ เน้นการทางานที่ทาให้ผู้ปฏิบัติงานมีความสุข ผู้ป่วยได้รับความปลอดภัย และลดการ เกิดเหตุการณ์ไม่พึงประสงค์ในขณะเดียวกัน พยาบาลต้องเปลี่ยน Mind set From the Loser’s view to be the Winner’s view, การจัดอัตรา กาลังแบบ Staffing Mix และ Skill Mix และการ Re design การจัดบริการในโรงพยาบาลเพ่ือตอบโจทย์ทิศทางการเคลื่อนของแต่ละโรงพยาบาล ที่มีความแตกต่างกัน
ข้อค้นพบใหม่ทีไ่ด้จากเรือ่ง
กรอบอัตรากาลัง (FTE) เป็นเคร่ืองมือ เป็นกรอบที่กระทรวงสาธารณสุขกาหนดข้ึนในการบริหารอัตรากาลัง หากเราพบว่างานที่เราทาไม่ เหมาะสมกับ FTE ท่ีกาหนดไว้ และมีความต้องการขยายอัตรากาลังเพ่ิม สามารถทาได้โดยการวิเคราะห์
ภาระงานของตนเองให้ชัดเจนจัดทาเอกสาร และนาเสนอต่อกระทรวงเพื่อพิจารณาการปรับปรุง FTE ให้เหมาะสมกับภาระงานในแต่ละ บริบทต่อไป
ปจัจัยแห่งความสาเร็จ
- การแก้ไขปัญหาภาระงานหนักต้องแก้ไขด้วยความคิดเชิงระบบและการทางานเป็นทีมที่ประกอบด้วย สหสาขาวิชาชีพทางานร่วมกันโดยอาศัยความชานาญของแต่ละสาขาวิชาชีพ
- พยาบาลต้องรู้จักตัวตนของตัวเอง สามารถจาแนกและปฏิบัติงานสาคัญของตัวเองตามวิชาชีพพยาบาลเป็นหลัก ต้องรู้จักการทา Re design ให้เหมาะสมกับทิศทางการเคลื่อนในบริบทของแต่ละโรงพยาบาล
- พยาบาลต้องเปลี่ยน Mind Set From the Loser’s view to be the Winner’s view
- แนวทางนโยบายการแบ่งการดูแลผู้ป่วยโดยแบ่งกลุ่มตามความต้องการดูแลของผู้ป่วยเป็นหลัก ได้แก่ Primary care, Acute Care,
Ambulatory Care, Long Term Care, Home Care และ End of life Care สามารถตอบโจทย์การดูแลได้ตรง ครอบคลุมมากขึ้น
- การกระจายการดูแลผู้ป่วยสู่ชุมชนเพื่อให้ประชาชนสามารถดูแลสุขภาพ และคุณภาพชีวิตของตนเองได้
 สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน)   207












































































   205   206   207   208   209