Page 251 - คุณค่า คุณภาพ คุณธรรม ถอดบทเรียนงานประชุมวิชาการ
P. 251

B1-205
19th HA National Forum
  ดร.ภญ.ศวิตา จิวจินดา
ผลิตภัณฑ์เสริมอาหารในปัจจุบันท่ีมากมาย ในผู้สูงอายุมักมีการใช้ผลิตภัณฑ์เสริมอาหารกันเพ่ิมมากขึ้นท้ังแคลเซียมและโสม
ก. การรับประทานแคลเซียม
ซ่ึงความต้องการแคลเซียมของร่างกายในแต่ละช่วงอายุจะมีความแตกต่างกัน ในทั้งหญิง-ชาย ช่วงอายุ 9 -18 ปี มีความต้องการปริมาณ แคลเซียม 1300 มิลลิกรัม แต่เมื่อผู้หญิงอายุ 19 -70 ปี ความต้องการ แคลเซียมกลับลดลง เป็น 1,000 มิลลิกรัม ในผู้ชายช่วงอายุ 51 ปี และผู้หญิง ท่ีมีอายุมากกว่า 70 ปีขึ้นไป ความต้องการแคลเซียมจะเท่ากับ 1200 มิลลิกรัม ซึ่งแคลเซียมจะพบมากในอาหารปะเภทนม กุ้ง กะปิ ปลา ไข่ ถั่วเขียว ถ่ัวเหลือง งา เต้าหู้ ใบยอ ฝักคะน้า สะตอ เผือก เป็นต้น
อาหารที่มีอิทธิพลต่อการดูดซึม แคลเซียมทางลาไส้ เช่น
- Lactose จะช่วยการดูดซึม Calcium ions (ในผลิตภัณฑ์นม)
- Phytate การดูดซึมแคลเซียมจะถูกขัดขวางโดย Phytate ในพืช
- Fiber Soluble fiber ในผัก ผลไม้ มีผลในการดูดซึมแคลเซียมน้อยกว่า ส่วน Insoluble Fiber ในพวก Whole Grain มีผลในการ
ดูดซึมแคลเซียมมากกว่า
- Oxalate ผักบางชนิด เช่น ใบชะพูล ผักโขม มีปริมาณ Oxalate สูง ซึ่งจะจับกับแคลเซียมได้ - Fat อาหารท่ีมีไขมันสูงจะลดการดูดซึมของแคลเซียม
องค์ประกอบของอาหารท่ีมีผลต่อการขับแคลเซียมออกทางไต
- Protein รับประทานโปรตีนสูง โดยเฉพาะโปรตีนจากเนื้อสัตว์ เพิ่มการขับแคลเซียมออกทางไต
- Phosphorus อาหารท่ัวไป จะมี Phosphorus ในปริมาณสูงโดยเฉพาะอาหารจาพวกเนื้อสัตว์ นม น้าอัดลม - Caffeine ชา, กาแฟ
ความแตกต่างระหว่าง Calcium carbonate (CaCO3) กับ Calcium citrate
- Calcium carbonate ต้องการกรดในการช่วยการดูดซึมแคลเซียม แต่ในผู้สูงอายุกรดในกระเพาะอาหารจะลดลง จึงควรรับประทาน ก่อนอาหาร หรือ หลังอาหารทันที
กลไกการออกฤทธิ์ของ CaCO3
- หลงั รบั ประทานอาหารตวั ยาจะไปทา ปฏกิ ริ ยิ ากบั กรดในกระเพาะอาหารจนมฤี ทธเ์ิ ปน็ กลาง และเกดิ เปน็ สารประกอบ Calcium chloride ซึ่งละลายน้าได้ดีจึงถูกดูดซึมเข้าสู่กระแสเลือด
- CaCO3 กระตนุ้ ใหก้ ระเพาะอาหารหลงั่ กรดออกมาไดเ้ ชน่ เดยี วกนั ดงั นนั้ ผบู้ รโิ ภคจงึ มกั ไดร้ บั คา แนะนา วา่ ควรรบั ประทานยาพรอ้ มอาหาร หรือหลังอาหารทันที
- Calcium citrate ไม่ต้องใช้กรดช่วยในการดูดซึม จึงสามารถรับประทานได้ท้ังก่อนและหลังอาหาร แต่มีราคาแพงกว่า Calcium carbonate
คาแนะนาในการรับประทานแคลเซียม
1.การรับประทานแคลเซียมในขนาดที่เหมาะสม คือ ขนาด 500 มิลลิกรัมในแต่ละคร้ังของการรับประทานเนื่องจากแคลเซียม เป็น Threshold nutrient เม่ือปริมาณแคลเซียม มีความเข้มขั้นถึงระดับหน่ึงในร่างกายจะไม่ดูดซึม จึงควรรับประทานแคลเซียมไม่เกิน 1200 mg/day (Elemental calcium) แนะนาในผู้ป่วยทุกราย ในกรณีที่คาดว่าผู้ป่วยจะได้จากอาหารไม่เพียงพอ
2.อาจมีอาการข้างเคียงต่อระบบทางเดินอาหาร ทาให้ท้องอืด จุกเสียด ท้องผูกจะทาให้ผู้ป่วยหยุดยา
3. Tolerable Upper Intake Level (UL): 2500 mg/day 4.การศึกษาพบว่าการให้แคลเซียมเพิ่มอุบัติการณ์ของโรคหัวใจและหลอดเลือด เมื่อเทียบกับยาหลอก อย่างไรก็ตามในการศึกษาอ่ืนๆ
ไม่พบว่าอุบัติการณ์โรคหัวใจ และหลอดเลือดเพิ่มขึ้น
สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน) 251
 







































































   249   250   251   252   253