Page 281 - คุณค่า คุณภาพ คุณธรรม ถอดบทเรียนงานประชุมวิชาการ
P. 281
C1-205
19th HA National Forum
• แพทย์และทีมจึงเน้นย้าให้ความรู้ความเข้าใจเรื่องผลลัพธ์ของการทา ERCP เพ่ือการระบายน้าดี ผู้ป่วยเข้าใจผิดว่า ERCP เป็นการรักษา มะเร็ง จึงคิดว่าหายจากโรค หลังจากทบทวนจึงมีการแก้ไขแนวทางเรื่องการติดตามผู้ป่วยมาพบแพทย์ โดยญาติมารับยาแทนได้ไม่เกิน 2 visit และหากผู้ป่วยมีความจาเป็นไม่สามารถมาพบแพทย์ได้ ประสานรพช.หรือรพ.สต. เพื่อติดตามเยี่ยมผู้ป่วย
• ให้ความรู้เพ่ือเพ่ิมพูนทักษะ นักศึกษาแพทย์ นักศึกษาเภสัช นักศึกษาพยาบาลในระหว่างท่ีฝึกงานในหอผู้ป่วยศัลยกรรม
• สร้างเครือข่ายดูแลผู้ป่วย และมีช่องทางการส่ือสารของเครือข่ายจังหวัดแพร่ (HHC program, Line) นอกจากส่งผู้ป่วยไปรักษาใกล้บ้าน
แล้ว สามารถปรึกษาและเปิดช่องทางให้ส่งผู้ป่วยกลับเข้าระบบรักษา
กรณีศึกษาท่ี 3 :
ได้รับแจ้งจากเจ้าหน้าที่ รพ.สต.ว่าผู้ป่วยมะเร็งตับมีอาการปวดมาก มีประวัติเคยได้รับ fentanyl patch จากโรงพยาบาล จึงต้องการ ประสานใหญ้ าตผิ ปู้ ว่ ยมารบั ยาทโี่ รงพยาบาล จากการไปเยยี่ มบา้ นพบวา่ ผปู้ ว่ ยนา fentanyl path มาแปะเมอื่ ปวดมาก และพบวา่ ผปู้ ว่ ยไมไ่ ดร้ บั การ รักษาที่โรงพยาบาลใด ปัจจุบันลูกซื้อยา Sorafenib ส่งมาให้ทุกเดือน ค่ายาเดือนละ 1 แสนบาท จึงประสานศัลยแพทย์ท่ีโรงพยาบาลแพร่ ผู้ป่วยมา พบแพทย์ในวันต่อมา และได้รับการตรวจร่างกายเพ่ือดูการดาเนินโรค พบว่าก้อนมะเร็งที่ตับมีขนาดใหญ่ข้ึน แพทย์จึงให้ผู้ป่วยหยุดยา Sorafenib
• ปัญหา :
1) ผู้ป่วยเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลหลายแห่ง (โรงพยาบาลแพร่ โรงพยาบาลมหาวิทยาลัย โรงพยาบาลเอกชน) ทาให้ขาดความต่อ
เนื่องในการรักษา เมื่อจะกลับมารักษาต่อจึงเกิดความกังวล
2) การใช้ยารักษามะเร็งที่มีราคาแพง แต่ไม่มีการติดตามประเมินผลการรักษา
3) การบรหิ ารยาแกป้ วด จากการประเมนิ ผปู้ ว่ ยพบวา่ ผปู้ ว่ ยไมม่ คี วามปวดรนุ แรงทจี่ ะตอ้ งใชย้ า fentanyl patch เมอื่ ไดร้ บั ยา tramadol
1*3 ร่วมกับ gabapentin (100) 1*hs ก็สามารถบรรเทาความปวดได้ เม่ือซักถามจึงทราบว่าผู้ป่วยแปะยาผิดวิธี
• การดูแลที่ต่อเนื่อง : ให้ข้อมูลเกี่ยวกับโรค การรักษาสม่าเสมอ มีช่องทางการติดต่อแก่ญาติ เยี่ยมบ้านโดยทีมสหสาขาวิชาชีพ HHC โดย
เครือข่ายในชุมชน และเย่ียมบ้านต่อเนื่องโดยจิตอาสา IPDจนถึงบ้าน
กรณีศึกษาท่ี 4 :
ผู้ป่วยชายอายุ 60 ปี มีประวัติการกลับเป็นซ้าของโรคมะเร็งท่ีทวารหนัก ได้รับการผ่าตัด Low anterior APR มีการกระจายของมะเร็งไป สู่ตับ ได้ยา Xeloda จากศูนย์มะเร็ง มีอาการปวดมาก ได้ยา morphine 30 mg q 12 hr แต่ยังมีอาการปวดอยู่จึงมาโรงพยาบาลแพร่ ทีมได้ปรับยา morphine (30) 1 tab q 12 hr เป็น fentanyl patch 25
Mcg q 3 วัน ผู้ป่วยยังมีอาการปวดมากข้ึน มีคาสั่งให้ยา morphine 3mg prn q 6 hr ทีมจึงได้ปรึกษาแพทย์และนา Patient controlled analgesia (PCA) มาใช้ และปรับยาควบคุมอาการปวดตาม protocol
• ผู้ป่วยต้องใช้ PCA protocol C (มีการให้ morphine continuous drip) ร่วมกับ fentanyl patch สามารถลดลงเป็น protocol A (ให้morphine เฉพาะตอนกดยา) เม่ือได้รับ fentanyl patch (25mcg) จนถึง 5 แผ่น ร่วมกับ gabapentin (400) 1*3 และ pregabalin (25) 1*hs amitriptyline (25) 1*hs หลังจากกลับบ้านได้ติดตามผู้ป่วยที่บ้าน ได้รับยากลับบ้านที่เพียงพอและสามารถควบคุมอาการปวดได้ ผู้ป่วยเสีย ชีวิตภายใน 2 อาทิตย์ และสามารถติดตามยาท่ีเหลือกลับมาได้
สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน) 281