Page 280 - คุณค่า คุณภาพ คุณธรรม ถอดบทเรียนงานประชุมวิชาการ
P. 280

C1-205
19th HA National Forum
 มีกิจกรรมการดูแลด้านศาสนา/ความเชื่อ เช่น 1) พระเย่ียมไข้ในหอผู้ป่วยเดือนละ2 คร้ัง (ศุกร์ที่ 2 และ 4 ของเดือน) เย่ียมให้กาลังใจผู้ ป่วยและครอบครัว และนิมนต์พระมาเย่ียมเป็นกรณีพิเศษ เช่น ทาสังฆทาน บายศรี ให้ศีลให้พร ตามประเพณีและความเช่ือ ซึ่งญาติอาจนิมนต์มาเอง โดยหอผู้ป่วยอานวยความสะดวกเรื่องรถให้ 2) จิตอาสาเยียวยาจิตใจ มีท้ังหมด 22 คนที่ผ่านการอบรมการดูแลผู้ป่วยแบบประคับประคองและการ เผชญิ ความตายอยา่ งสงบโดยวทิ ยากรทผี่ า่ นการอบรมของทา่ นพระอาจารยไ์ พศาล พสิ าโล เขา้ เยยี่ มตงั้ แตห่ อผปู้ ว่ ยและในเขตพนื้ ทรี่ บั ผดิ ชอบในชมุ ชน
ทางเลือกในการรักษาที่นามาใช้ เช่น สมาธิบาบัดแบบ SKT (รศ.ดร.สมพร กันทรดุษฎี เตรียมชัยศรี) นาท่าที่ 6, 7 และ 8 มาใช้ในการดูแล ผู้ป่วย ตัวอย่างเคส พระภิกษุรูปหนึ่งป่วยด้วยโรคมะเร็งลาไส้ใหญ่ (CA colon) ได้รับเคมีบาบัด และรับประทานยาแต่ยังมีอาการปวด พักผ่อนได้ น้อยทั้งกลางวันและกลางคืน ทีมงานได้เข้าไปเยี่ยม สร้างสัมพันธภาพ แนะนาให้ใช้สมาธิบาบัดร่วมด้วย ทาให้สามารถลดปริมาณยาmorphineที่ใช้ ควบคมุ อาการปวดได้ และพระภกิ ษรุ ปู นที้ า่ นยงั มาเปน็ วทิ ยากรจติ อาสาชว่ ยเยย่ี มไขผ้ ปู้ ว่ ยมะเรง็ รายอนื่ ๆ จากผลการดา เนนิ งานตงั้ แตป่ ี 2559-2561 พบว่า ส่วนใหญ่ผู้ป่วยแจ้งความประสงค์ขอกลับมาเสียชีวิตท่ีบ้าน แต่ยังมีบางกลุ่มที่ยังขอเสียชีวิตที่โรงพยาบาลเนื่องจากความจาเป็นบางอย่าง ทั้งความพร้อมของผู้ดูแล สภาพจิตใจที่ยังไม่พร้อม ซึ่งเป็นโอกาสพัฒนาการดูแลผู้ป่วยต่อไปในอนาคต
กรณีศึกษาท่ี 1 :
ผู้ป่วยหญิงไทย อายุ 38 ปี ป่วยด้วยโรคมะเร็งลาไส้ใหญ่ ได้รับการผ่าตัดลาไส้มาแล้ว 1 ปี ได้รับยาเคมีบาบัดครบ มาพบแพทย์ด้วยอาการ อืดแน่นท้อง ไม่ถ่ายอุจจาระมา 3 วัน ตรวจ X-ray พบลาไส้เล็กอุดตัน หลังเข้า admit ได้รับการผ่าตัด พบว่ามีการกระจายของมะเร็งทั่วช่องท้อง ลา ไสเ้ ลก็ ตดิ กนั เปน็ พงั ผดื แพทยจ์ งึ ผา่ ตดั เอาตดั ลา ไสเ้ ลก็ ออกปรมิ าณมาก และยกลา ไสเ้ ลก็ ขนึ้ หนา้ ทอ้ ง (colostomy) หลงั ผา่ ตดั ผปู้ ว่ ยไมส่ ามารถรบั ประทานอาหารได้ มีอาการปวดมาก Pain score 10 ได้ให้ยา morphine 3 mg iv q 6 hr
• แพทย์ได้ให้คาอธิบายเรื่องโรคกับญาติและส่งต่อให้ทีมเข้ามาดูแลให้คาแนะนา พูดคุยร่วมกันกับญาติ เป้าหมายเพื่อให้ผู้ป่วยไม่ต้องทุกข์ ทรมาน จึงได้ปรับยาแก้ปวดควบคุมอาการ แต่ผู้ป่วยยังคงมีอาการปวด แพทย์จึงเพิ่มยา fentanyl patch ร่วมกับ morphine iv prn for pain ประเมินระดับความเจ็บปวดเช้าวันที่ 3 หลังผ่าตัด ผู้ป่วยยังคงมีอาการปวด แต่ไม่ได้ขอยาแก้ปวด เพราะขาดความเข้าใจ
• เภสัชกร ให้คาแนะนาแก่ผู้ป่วยและญาติเรื่องการใช้ยาแก้ปวด
• พยาบาล พฒั นาระบบการบนั ทกึ เวลาใหย้ า เฉพาะยาแกป้ วดกลมุ่ opioids เพอื่ สอ่ื สารการใหย้ าใหท้ มี ไดท้ ราบหลงั จากนอนโรงพยาบาล
ญาตปิ รกึ ษาวา่ ตอ้ งการนา ผปู้ ว่ ยกลบั ไปเสยี ชวี ติ ทบี่ า้ นซงึ่ อยตู่ า่ งจงั หวดั แตต่ ดิ ปญั หา เรอื่ งการใหอ้ าหารทางหลอดเลอื ดดา และการใหย้ า
แก้ปวด อีกทั้งสภาพผู้ป่วยยังไม่สามารถเคลื่อนย้ายได้
• การเยียวยาด้านจิตใจ อานวยความสะดวกแก่ญาติผู้ป่วย ในการนิมนต์พระมาเยี่ยมไข้ และประกอบพิธีกรรมทางศาสนา เปิดโอกาสให้
ญาติ (สามีและบุตรชาย) ได้ขออโหสิกรรมตอนผู้ป่วยยังรู้สึกตัว ปลดเปล้ืองส่ิงที่ยังค้างคาใจภายในครอบครัว ทา family meeting ร่วมกัน ผู้ป่วยรายน้ีตัดสินใจ good death ท่ีโรงพยาบาลแพร่ และประสานกู้ภัยแพร่เคลื่อนย้ายสู่จังหวัดนครสวรรค์
กรณีศึกษาท่ี 2 :
ผู้ป่วยหญิงอายุ 68 ปี มาพบแพทย์ด้วยเรื่องไข้ตัวเหลือง ตาเหลืองประมาณ 10 วัน มีอาการปวดท้องและคันที่ผิวหนังมาก ตรวจ CT abdomen พบภาวะ intrahepatic duct dilate มีการกระจายไปท่ี para-aortic node ไม่สามารถรักษาด้วยการผ่าตัดได้ เนื่องจากผู้ป่วยไม่แข็ง แรง น้าหนักน้อย แพทย์จึงวางแผนผ่าตัดระบายน้าดีด้วยวิธีส่องกล้องตรวจรักษาท่อทางเดินน้าดีและตับอ่อน (ERCP) ให้ยาต้านจุลชีพ และยาแก้ ปวด ระหว่างนอนโรงพยาบาล ทีมดูแลปรับยาแก้
ปวดจนสามารถควบคุมอาการปวดด้วย morphine (30) 1 tab q 12 hr, gabapentin (400) 1*2opc, morphine syrup (2mg/ml) 5ml prn (for breakthrough pain), senokot 2*hs เมื่อผู้ป่วยมาตามนัดหลังจากกลับบ้านได้ 2 สัปดาห์ พบว่าไม่ได้รับ Morphine syrup ตอน กลับบ้าน ทาให้ผู้ป่วยต้องไปฉีดยาแก้ปวดที่คลินิกใกล้บ้านเกือบทุกวัน
• ปัญหาที่พบ
1) Medication error (แพทย์ พยาบาล เภสัชกร) ในการสั่งยากลับบ้าน
2) ความเข้าใจในการใช้ยาแก้ปวด (องค์ความรู้) มีการแก้ไขโดยนาปัญหาเข้าทบทวนในที่ประชุม PCT ศัลยกรรม (ประชุมทุกเดือน) และ
เน้นความรู้ความเข้าใจแก่ผู้ปฏิบัติงานเร่ืองยาที่พบปัญหาบ่อย เช่น fentanyl patch, morphine syrup เพื่อเกิดความเข้าใจในการ
บริหารยากลุ่มน้ี
หลังจากได้รับ Morphine syrup อาการปวดของผู้ป่วยดีขึ้น กินยา Morphine syrup 2 ครั้งต่อวัน ญาติเดินทางมารับยาแทน (นัดติดตาม
ทกุ 2 เดอื น) ทมี ไดแ้ นะนา ใหพ้ าผปู้ ว่ ยมาพบแพทยบ์ า้ งเพอื่ ตดิ ตามอาการ แตญ่ าตแิ จง้ วา่ มปี ญั หาเรอ่ื งการเดนิ ทาง (ตอ้ งนงั่ รถโดยสารไปกลบั 4 ชว่ั โมง) 2 อาทิตย์ต่อมาผู้ป่วยมาที่ห้องฉุกเฉินด้วยอาการตัวเหลือง ตาเหลือง มีไข้ ปวด อืดท้อง
280   สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน)











































































   278   279   280   281   282