Page 279 - คุณค่า คุณภาพ คุณธรรม ถอดบทเรียนงานประชุมวิชาการ
P. 279
C1-205
19th HA National Forum
จากปญั หาการบรหิ ารจดั การยาจงึ พฒั นาสรา้ งระบบการตดิ ตามผปู้ ว่ ยทไ่ี ดร้ บั ยาแกป้ วดกลมุ่ opioid (morphine, fentanyl) ในโรงพยาบาล เพ่ือติดตามประสิทธิภาพ ผลข้างเคียงและการเก็บยาคืนเม่ือผู้ป่วยเสียชีวิตกรณีผู้ป่วยนายาออกไปใช้ท่ีบ้าน ยกตัวอย่างเช่น เคสผู้ป่วยอายุ 70 ปี เป็น มะเร็งตับอ่อนระยะที่ 4 มีอาการปวดท้องรุนแรงระหว่างนอนโรงพยาบาล ผู้ป่วยได้รับยา morphine SR (10) 1 tab q 12 h, morphine syrup prn วันที่กลับบ้านแพทย์ปรับยาจาก morphine เป็น fentanyl patch (ดึงข้อมูลผู้ป่วยที่ได้รับยา morphine, fentanyl จากระบบคอมพิวเตอร์ ได)้ เมอื่ เยยี่ มบา้ นพบปญั หาความเขา้ ใจการใชย้ า fentanyl patch แปะยาไมถ่ กู ตอ้ ง จงึ ไมส่ ามารถใชย้ าไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ ผปู้ ว่ ยจงึ มอี าการปวด มาก เนื่องจากแปะแผ่นยาใช้จากโรงพยาบาลต้ังแต่วันจาหน่ายมา 5 วัน การแก้ปัญหา คือประสานหอผู้ป่วยให้ส่ง consult ในโปรแกรมแล้วเภสัชกร จะไปดูให้ และการใช้โปรแกรมช่วยดึงข้อมูลผู้ป่วยที่ใช้ยาแก้ปวด opioid อย่างสม่าเสมอ เพื่อติดตามผู้ป่วยและให้คาแนะนาการใช้ยาจนเกิดความ เข้าใจมากขึ้น เน่ืองจากในวันจาหน่ายผู้ป่วยอาจมีเวลาจากัดในการอธิบาย
“เรามนั่ ใจไดอ้ ยา่ งไรกบั ประสทิ ธภิ าพการตดิ ตามการใชย้ าเสพตดิ กลมุ่ นที้ ถ่ี กู นา ออกนอกโรงพยาบาล และปรมิ าณยา morphine fentanyl ทใี่ หผ้ ปู้ ว่ ยนา ไปนนั้ มากเกนิ ไปหรอื ไม”่ เปน็ คา ถามทผ่ี บู้ รหิ ารอยากใหเ้ กดิ ความมน่ั ใจในระบบ ทมี จงึ มาพดู คยุ รว่ มกนั ทง้ั พยาบาล เภสชั กร และแพทย์ เวชศาสตร์ครอบครัวช่วยกันวางระบบ ออกติดตามเย่ียมบ้าน ส่งต่อข้อมูลการใช้ยาให้รพช. และรพ.สต. โดยทีมได้ออกเยี่ยมบ้านร่วมด้วย ในปี 2560 พบว่ามียาเสพติดที่เหลือเนื่องจากผู้ป่วยเสียชีวิต เช่น fentanyl patch, morphine SR 10 mg tab, morphine 30mg tab และmorphine syrup จานวน 936 items มูลค่า 23,731 บาท ซ่ึงหากไม่เข้าไปจัดการยาดังกล่าวที่คงค้างอยู่ในชุมชนแล้วยาจะผ่านไปช่องทางใดบ้างหรือผลกระทบอะไร บ้าง เมื่อเกิดระบบก็ทาให้สามารถบริหารยานอกโรงพยาบาลได้อย่างมีประสิทธิภาพ ผู้บริหารและชุมชนเกิดความม่ันใจ
กรณนี า ยาฉดี ออกนอกโรงพยาบาลตอ้ งมแี พทยด์ แู ล ตามรายชอื่ ทไี่ ดร้ บั การอนมุ ตั ิ และการเบกิ ยาโดยเจา้ หนา้ ทขี่ องโรงพยาบาลหรอื รพ.สต. ติดตามดูแล เก็บข้อมูลการใช้ยามานาเสนอคณะกรรมการยา (PTC) อย่างสม่าเสมอ
อัญชนา บุญนิธิพันธ์ุ
ผปู้ ว่ ยมะเรง็ ระยะสดุ ทา้ ยมคี วามทกุ ขท์ รมาน เชน่ ปญั หาอาการปวด เหนอื่ ยหอบ ไมเ่ พยี งแตผ่ ปู้ ว่ ยเทา่ นนั้ ยงั สง่ ผลตอ่ ญาติ รวมถงึ ความเครยี ด และความวิตกกังวล อีกท้ังคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยและครอบครัว ทีมสหสาขาวิชาชีพรวมถึงแพทย์ทางเลือกและแพทย์แผนไทยจึงช่วยกัน ซึ่งมีการ บริการท้ัง IPD OPD และติดตามดูแลถึงในชุมชน
บทบาทพยาบาลในหอผู้ป่วย ต้องได้รับความร่วมมือจากหลายๆ ฝ่าย ในโรงพยาบาลมีข้อตกลงPalliative care ทุกรายต้องมีการทา Discharge plan เข้าโปรแกรม เพื่อให้พยาบาลเวชกรรมได้เข้ามาเยี่ยมประเมินผู้ป่วยและวางแผนจาหน่าย เช่นผู้ป่วย CA lung ท่ีมีความจาเป็นต้อง ใช้ออกซิเจน จะประสานเครือข่ายในการเตรียมความพร้อมก่อนการจาหน่าย มีการติดตามผู้ป่วยทุกเช้าจากโปรแกรม Palliative care เพื่อติดตาม ผู้ป่วยว่าอยู่ในหอผู้ป่วยใดบ้าง วางแผนติดตามเยี่ยม ทา family meeting ร่วมกับแพทย์เจ้าของไข้และครอบครัว แก้ไขอาการรบกวนต่างๆ ท้ังเจ็บ ปวด เหน่ือยหอบ หากมีปัญหาก็มีช่องทางการติดต่อกับแพทย์และเภสัชกรเพื่อหาแนวทางดูแลร่วมกัน รวมถึงการดูแลด้านจิตใจของผู้ป่วยและญาติ
ในผปู้ ว่ ยทดี่ แู ลแบบประคบั ประคองทกุ ราย กอ่ นกลบั ไปอยทู่ ช่ี มุ ชน จะสง่ ทา Discharge plan และหลงั จา หนา่ ยออกจากโรงพยาบาลจะสง่ ต่อข้อมูลจาหน่ายผ่านโปรแกรม HHC เพ่ือให้เครือข่ายติดตามเยี่ยม กรณีผู้ป่วยฉุกเฉินจะมีการสื่อสารผ่านไลน์ เช่น กรณีไม่สมัครใจอยู่ ก็จะสามารถ เข้าไปเยี่ยมผู้ป่วยหลังจาหน่าย 1-2 ชั่วโมง และส่งข้อมูลย้อนกลับมาให้โรงพยาบาลทราบ
สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน) 279