Page 327 - คุณค่า คุณภาพ คุณธรรม ถอดบทเรียนงานประชุมวิชาการ
P. 327

C2-206
19th HA National Forum
  ศ.นพ.วินัย วนานุกูล
Drug : A main tool for traeting patient
การเลือกซ้ือของใช้ เช่น รถ เสื้อผ้า เราสามารถกาหนดความต้องการก่อนซื้อได้ แต่กรณียากับโลงศพมีความเหมือนกันในการนามาใช้ เราไม่สามารถกาหนดได้เพราะคนสั่งไม่ได้ใช้ คนใช้ไม่ได้เป็นคนกาหนดความต้องการ
ผตู้ ดั สนิ ใจเลอื กใชย้ า มกั ไมใ่ ชผ่ ปู้ ว่ ยทไี่ ดร้ บั ยา ผปู้ ว่ ยจงึ อาจจะไมม่ คี วามรู้ ความเขา้ ใจในยาทตี่ นเองไดร้ บั หรอื อาจรสู้ กึ วา่ ตอ้ งใชห้ รอื ไมอ่ ยาก ได้รับยาก็ได้ ก่อให้เกิดปัญหาการใช้ยาของผู้ป่วย เช่น ใช้ยาผิดขนาด เวลา หรือวิธีใช้ ก่อให้เกิดความคลาดเคล่ือนทางยา (Medication errors) หรือ เกิดอาการไม่พึงประสงค์จากยา (Adverse Drug Reactions) หรือภาวะอันตรกิริยาระหว่างยา (Drug Interaction) ส่งผลให้เกิดผลเสียจากการใช้ ยา เช่น การรักษาไม่ได้ผล เกิดภาวะเป็นพิษจากยา และเกิดอาการไม่พึงประสงค์จากยา
ทมี ไดก้ า หนดภาพพงึ ประสงคค์ อื ผปู้ ว่ ยเสามารถขา้ ใจเหตผุ ลจากการใชย้ า วธิ กี ารใชย้ าถกู ตอ้ ง รขู้ อ้ ควรระวงั สงั เกตภาวะอนั ไมพ่ งึ ประสงค์ จากยาท่ีใช้เบื้องต้นได้ด้วยตนเอง ดังนั้นเราจาเป็นต้องมีข้อมูลท่ีดีพอ (sufficient information to patient) และส่งเสริมความรู้ (empowerment patient)
ภญ.นริสา ตัณฑัยย์
ความต้องการของประชาชน เรื่องฉลากยา
ขอ้ มลู เรอื่ งยาทม่ี มี ากมาย จะใหข้ อ้ มลู แกป่ ระชาชนอยา่ งไรใหเ้ หมาะสมและครอบคลมุ เพยี งพอ โรงพยาบาลในเครอื ขา่ ยสถาบนั แพทยศาสตร์ แห่งประเทศไทย (UHOSNET) ได้ทาการสารวจผู้ป่วยท่ีได้รับยาเกี่ยวกับข้อมูลบนฉลากยา แบ่ง
การศึกษาเป็น 2 ระยะ ระยะที่ 1 สารวจพฤติกรรมของประชาชนทั่วๆ ไป เก่ียวกับการใช้ยา ถามความเข้าใจและการปฏิบัติตนต่อคาเตือน ทร่ี ะบไุ วบ้ นหนา้ ซองยา ซง่ึ ผลของการศกึ ษาในระยะ 1 พบวา่ บางขอ้ ความประชาชนอา่ นแลว้ มคี วามกงั วลและตอบวา่ จะไมก่ นิ ยาในสดั สว่ นทค่ี อ่ นขา้ ง สูงมาก คณะทางานมีความเห็นว่าหากเปลี่ยนไปทาการสารวจในผู้ป่วยท่ีมีความจาเป็นที่ต้องกินยาตัวนั้นอยู่แล้ว คาตอบจะเปล่ียนไปหรือไม่ นามาสู่ การศึกษาในระยะที่ 2 ซ่ึงได้เพิ่มการสารวจข้อความที่จะระบุในฉลากยาเสริมด้วย โดยจะถามในผู้ป่วยที่ได้รับยานั้นจริงๆ เพื่อท่ีเราจะได้มีข้อมูลไปใช้ ในการจัดทาฉลากยาและฉลากยาเสริมให้มีข้อมูลท่ีถูกต้องและครบถ้วน ทาให้ผู้ป่วยมีความเข้าใจและสามารถใช้ยาได้ถูกต้อง
การศึกษาระยะท่ี 1
กลุ่มตัวอย่าง 2,243 คน ส่วนใหญ่เป็นผู้หญิง ช่วงอายุส่วนใหญ่ 46-60 ปี ส่วนใหญ่มีการศึกษาในระดับปริญญาตรี
1. พฤติกรรมการอ่านฉลากยาทุกคร้ังก่อนหยิบยามากิน 77% ตอบว่าอ่านทุกครั้ง ท่ีเหลือ อ่านเป็นบางครั้งหรือไม่อ่านเลย อาจเป็นเพราะ ว่าเป็นยาที่ใช้อยู่ประจาอยู่แล้ว
2. ประเด็นท่ีอ่าน ส่วนใหญ่อ่านวิธีใช้ ชื่อยา คาเตือนคาแนะนา
3. ขอ้ มลู ทต่ี อ้ งการใหม้ อี ยบู่ นฉลากยา หลกั ๆ เปน็ เรอื่ งวธิ ใ๊ ช้ ควรมชี อ่ื ยาภาษาไทย เปน็ สงิ่ ทกี่ ลมุ่ ตวั อยา่ งตอ้ งการ และมเี หตผุ ลจะสนบั สนนุ ความคิดว่าควรจะใส่ช่ือยาภาษาไทยไปที่หน้าซองยา ตามด้วยคาเตือนคาแนะนาต่างๆ รวมถึงข้อบ่งใช้
4. ประเด็นยาที่มีหลายข้อบ่งใช้ หรือไม่ตรงกับโรคที่ผู้ป่วยเป็น 72% จะกลับมาถามแพทย์หรือเภสัชกร และอีก 24% ตอบว่าจะไม่กินยา ทาให้ทีมต้องไปศึกษาว่าจะระบุข้อบ่งใช้ว่าอย่างไร เพ่ือหลีกเล่ียงการไม่กินยากรณีท่ีข้อบ่งใช้ที่หน้าระบุหน้าซองไม่ตรงกับโรคที่เป็น
5. หากฉลากยาระบุว่า “กินยาต่อเน่ืองวันละ 1 คร้ังตอนเช้า” ท่านจะกินยาเม่ือใด เม่ือมีการเปล่ียนหน้าซองเป็นแบบนี้ตามท่ีหนังสือคู่มือ แนะนา จะเกิดอะไรขึ้น พบว่ามีบางส่วนเข้าใจ บางส่วนไม่แน่ใจถึง 38% ทางทีมจึงตัดสินใจทาตามเดิมไปก่อนเพ่ือลดภาระเภสัชกรหน้างานที่ต้อง ตอบคาถามผู้ป่วย
6. ถ้าท่านอยากทราบข้อมูลยาเพ่ิมเติมท่านทาอย่างไร พบว่านอกเหนือจากการถามบุคลากรทางการแพทย์แล้ว เกือบคร่ึงหนึ่งหาข้อมูล จากอินเตอร์เน็ต ทาให้ต้องตระหนักแล้วว่าข้อมูลในส่ือออนไลน์มีทั้งสิ่งท่ีน่าเช่ือถือและไม่น่าเช่ือถือ ทั้งจาก Facebook, webpage ต่างๆ ดังน้ันใน ฐานะบุคลากรทางการแพทย์จาเป็นต้องจัดทาข้อมูลที่เป็นมาตรฐานที่น่าเช่ือถือ และเผยแพร่ในแหล่งท่ีเค้าเข้าถึงได้ง่าย
 327   สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน)















































































   325   326   327   328   329