Page 329 - คุณค่า คุณภาพ คุณธรรม ถอดบทเรียนงานประชุมวิชาการ
P. 329
C2-206
19th HA National Forum
5. แบ่งเภสัชกรผู้รับผิดชอบในการจัดทาข้อมูลเบื้องต้น 12 กลุ่ม พร้อม Manager ประจากลุ่ม สาหรับเตรียมข้อมูลต่างๆ และความพร้อม ในการประชุมเชิงปฏิบัติการ รอบท่ี 1
6. กาหนดแนวทางทั่วไปในการจัดทา และหน้าท่ีของ Manager ในแต่ละกลุ่ม
7. คู่มือการจัดทาข้อมูล พัฒนาฉลากยาเสริมและข้อมูลความปลอดภัยฉบับภาษาไทยสาหรับผู้ป่วย
8. ไฟล์ที่ใช้ในการกรอกข้อมูล ขยป.2 (Extended Drug Label Entry) โดยมีการเชื่อมข้อมูลชื่อสามัญทางยาภาษาอังกฤษ ไทย หมายเลข
กาหนด กลุ่มยา และ ATC code เข้าด้วยกัน
9. คู่มือการใช้ไฟล์กรอกข้อมูล ขยป.2 (Extended Drug Label Entry)
10. คามาตรฐานที่ใช้สาหรับจัดทาข้อมูลในหัวข้อต่างๆ
11. ข้อแนะนาการใช้ยาทั่วไป
ระยะที่ 2 มีการตรวจสอบข้อมูลโดยเภสัชกรผู้เช่ียวชาญ แบ่งตามกลุ่มการออกฤทธิ์ของยา เพื่อให้มีข้อมูลใกล้เคียงกันในยากลุ่มเดียวกัน ระยะที่ 3 การตรวจสอบและทบทวนข้อมูลจากอาจารย์แพทย์และเภสัชกร เพื่อปรับความเข้าใจให้ตรงกันระหว่าง ผู้สั่งจ่ายยา ผู้จ่ายยา
และผู้ป่วย
เมอื่ ไดข้ อ้ มลู ยามาแลว้ ควรจะสอ่ื สารใหผ้ ปู้ ว่ ยอยา่ งไรดี จะพมิ พเ์ ปน็ กระดาษเหมอื นใบเซยี มซี กอ็ าจมโี อกาสใสซ่ องผดิ หรอื พมิ พใ์ สฉ่ ลากยา
อีกอันแล้วปิดอีกด้านของซองยา ก็กลัวจะปิดผิด และเป็นการเพิ่มภาระงานผู้ช่วยเภสัชกร และเภสัชกรต้องตรวจสอบเพิ่มอีกหนึ่งกระบวนการ นาไป สู่การสื่อสาร ด้วย Mobile application “RDU รู้เรื่องยา” ในการให้ข้อมูลยาท่ีมีมาตรฐาน เป็นหนึ่งเดียว ทันสมัย
โดยมีการพัฒนาร่วมกันระหว่างกระทรวงสาธารณสุข สานักรัฐบาลอิเลคทรอนิกส์ คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล สานักงานสร้าง เสริมสุขภาพ สานักวิจัยระบบสาธารณสุข และโรงพยาบาลในเครือข่าย UHOSNET
Mobile application
“RDU รู้เร่ืองยา”
1. ให้มีข้อมูลยาของประเทศไทยที่มีมาตรฐานเป็นหนึ่งเดียว ทันสมัย เพิ่มประสิทธิภาพและความปลอดภัยในการใช้ยา 2. ให้ประชาชนเข้าถึงข้อมูลยาได้สะดวกยิ่งข้ึน เพียงใช้โทรศัพท์มือถือหรือแท็บเล็ตสแกน QR Code บนซองยา
3. ให้ผู้ป่วยเก็บข้อมูลยาส่วนบุคคลไว้ได้ในเคร่ืองมือสื่อสาร และงสามารถแจ้งแก่ผู้ส่ังและจ่ายยาครั้งต่อไปได้ในทันที
ข้อมูลใน RDU รู้เร่อื งยา ประกอบด้วย
1. ข้อมูลยา (ข้อบ่งใช้ คาแนะนาการใช้ยา ผลข้างเคียงจากการใช้ยา ข้อห้ามใช้ อันตรกิริยาระหว่างยา การเก็บรักษา ข้อควรระวัง) 2. สื่อสร้างความตระหนักรู้ (Awareness) ให้ผู้ป่วย
3. ข้อมูลการใช้ยาในกลุ่มผู้ป่วยพิเศษ (Special Population)
4. เอกสารข้อมูลยาสาหรับประชาชน
5. วิธีการใช้ยาเทคนิคพิเศษ
6. ข่าว update เร่ืองยา
โรงพยาบาลที่เข้าร่วมโครงการ จะต้องสร้าง QR code จากข้อมูลการจ่ายยา โดยข้อมูลใน QR code จะประกอบด้วย ชื่อโรงพยาบาล
วันที่จ่ายยา ชื่อ-นามสกุลผู้ป่วย (ผ่านเลขที่บัตรประชาชน) ชื่อยาในระดับ TMT Code และระดับ TPU วิธีการใช้ยาท่ีแปลงเป็น Code กลาง (อยู่ ในระหว่างการพัฒนา)
จะเห็นว่าข้อมูลใน QR code จะเป็นข้อมูลเฉพาะของคนไข้แต่ละราย หน้าซองยาทุกซองจะมี QR code นี้อยู่ ซึ่งจะเป็นของยาแต่ละ รายการ และจะมี QR code ที่สรุปรวมรายการยาท้ังหมดที่ได้รับในวันน้ันๆ รวมด้วย
329 สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน)