Page 345 - คุณค่า คุณภาพ คุณธรรม ถอดบทเรียนงานประชุมวิชาการ
P. 345
B2-103
19th HA National Forum
1. Supportive Care การรักษาการดูแลส่วนใหญ่จะเป็นโรคมะเร็ง การให้เคมีบาบัด เริ่มการดูแลต้ังแต่การวินิจฉัยเน้นการวินิจฉัยท่ีเร็ว ที่สุดเพ่ือผลการรักษาท่ีมีประสิทธิภาพ
2. Palliative Care การดูแลดความทุกข์ทรมานตามโมเดลของ WHO
3. Hospice Care มีการประปรุงในลักษณะการดูแลท่ีบ้าน การวินิจฉัยผู้ป่วยระยะสุดท้ายจากเดิมมีการกาหนดเงื่อนไขตามระยะเวลาของการเสียชีวิต แต่ในปัจจุบันกาหนดตามระยะและภัยคุกคาม
ของโรค เนื่องจากมีการพัฒนาการรักษาอาการของโรคได้ดี บางครั้งคิดว่าผู้ป่วยจะเสียชีวิตในระยะเวลาไม่นาม แต่พอให้การดูแลรักษาผู้ป่วยกลับมี อ า ก า ร ด ขี นึ ้ ก า ร ท ม่ ี กี า ร ว นิ จิ ฉ ยั ผ ป้ ู ว่ ย P a l l i a t i v e c a r e ไ ด เ้ ร ว็ จ ะ ท า ใ ห ค้ ณุ ภ า พ ช วี ติ ข อ ง ผ ป้ ู ว่ ย ด ขี นึ ้ อ ตั ร า ก า ร ร อ ด ช วี ติ ก ส็ งู ข นึ ้ ใ น ป ร ะ เ ท ศ ไ ท ย ก า ร ด า เ น นิ งานเรื่อง Palliative care ส่วนใหญ่ยังทาในรูปจิตอาสา ยังไม่มีการสนับสนุนจากภาครัฐ การเข้าถึงยาก็ยังเป็นเร่ืองยาก การบริการก็มาแพร่หลาย
กรอบแนวคิดการดูแล Palliative care (กระทรวงสาธารณสุข)
ผู้ป่วยในระยะสุดท้ายมีความปรารถนาท่ีจะดูแลตนเอง ใช้ชีวิตในช่วงเวลาที่เหลืออยู่แต่ปัญหาที่พบ คือ ผู้ป่วยไม่มีหน่วยสนับสนุนที่ จะกลับไปดูแลตนเองที่บ้าน ฉะนั้นทีมจะต้องจัดให้ผู้ป่วยเข้าถึงบริการ ในโรงพยาบาล (Access to care) การสนับสนุนการดูแลที่ครอบคลุม (Holistic care) มกี ระบวนการดแู ลโดยทมี สหสาขา (Interdisciplinary team) และเครอื ขา่ ยการดแู ลในชมุ ชน (Continuity of care) มกี ารประสาน ข้อมูลทั้งส่งและรับผู้ป่วย
ภายใต้การดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้าย มาตรฐานหรือข้อกาหนดจะมีส่วนช่วย ทาให้การดูแลมีคุณภาพ น่าเชื่อถือ และประเมินผลได้ ช่วยในการศึกษาวิจัย สนับสนุนการดาเนินงานเชิงนโยบาย เช่นการสนับสนุน งบประมาณ อุปกรณ์ที่จาเป็น ช่วยผลักดันการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้าย (End of life) เป็นส่วนหน่ึงของการแพทย์กระแสหลัก
กระบวนการยกร่างข้อกาหนด Hospice care
1. ประชุมผู้เช่ียวชาญ 2 ครั้ง ยกร่างข้อกาหนด ver0.1
2. ประชุมโรงพยาบาลระดับต่างๆ ทบทวน ให้ข้อเสนอแนะ คณะทางานยกร่าง ver0.2
3. ประชุมชี้แจงโรงพยาบาลร่วมทดลองใช้ข้อกาหนด คณะทางานเย่ียมนาผลประเมินข้อกาหนดยกร่าง ver0.3 4. ประชุมโรงพยาบาลนาร่อง รับฟังปัญหา ข้อเสนอแนะ คณะทางานสรุปยกร่างข้อกาหนด ver0.1
345 สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน)