Page 344 - คุณค่า คุณภาพ คุณธรรม ถอดบทเรียนงานประชุมวิชาการ
P. 344
B2-103
19th HA National Forum
นพ.ภรเอก มนัสวานิช
ปัจจุบันการดูแลผู้ป่วยระยะท้ายคือ การดูแลหรือทาอย่างไรให้ผู้ป่วยนั้นได้มีความเป็นอยู่ที่ดีที่สุดจนกว่าจะจากไป ไม่ใช่เพียงแค่การทา ให้ตายดี จากข้อมูลการศึกษา พบว่ารูปแบบการดูแลผู้ป่วยระยะท้าย ไม่มีรูปแบบเฉพาะตายตัว ข้ึนอยู่กับพื้นฐาน บริบทการดูแลที่ปรับเปลี่ยนใน แต่ละพ้ืนที่ การเชื่อมโยงของการดูแลผู้ป่วยระยะท้าย ส่วนใหญ่เร่ิมต้นที่การวินิจฉัยใน
โรงพยาบาลใหญ่ และส่งต่อผู้ป่วยไปยังโรงพยาบาลหรือสถานสาธารณสุขใกล้บ้าน เพื่อให้รับช่วงดูแลผู้ป่วยท่ีกลับไปใช้ชีวิตที่บ้าน ซึ่งมี จุดเน้นหรือจุดที่มักถูกมองข้าม ดังน้ี
1. ในโรงพยาบาล การดูแลผู้ป่วยระยะท้ายต้องมีกระบวนการท่ีแตกต่างจากการดูแลผู้ป่วยทั่วไป
- มีเป้าหมายการดูแลระยะยาวตั้งแต่เร่ิมให้วินิจฉัยและวางแผนการรักษา
- ประเมินความพร้อมของญาติหรือผู้ดูแล
- การให้การสนับสนุน ยาเครื่องมือแพทย์และอุปกรณ์ที่จาเป็น ช่องทางติดต่อ ช่องทางเร่งด่วน รวมถึงในส่วนของบุคลากร
ที่ปฏิบัติงานด้านน้ี (การอยู่เวร ค่าเวร) 2. ระบบการส่งต่อ
- ระบบการส่งต่อที่เป็นระบบเดียวกัน ให้ใช้ข้อมูลร่วมกันได้
- วิธีการส่งตัวผู้ป่วยกลับสู่บ้าน โดยที่ตัวผู้ป่วยไม่ต้องรับภาระในส่วนนี้เอง - ระบบการส่งข้อมูลกลับ การติดตาม
3. บ้าน-ครอบครัว-ชุมชน เป็นส่วนที่สาคัญท่ีสุดในการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้าย
- มาตรฐานการดูแลท่ีบ้านท่ีต้องแตกต่างกับในโรงพยาบาล
- ระบบการติดตามผู้ป่วยและผู้ดูแล ทบทวนแผนการดูแลผู้ป่วยอาจมีการปรับเปลี่ยน ทบทวนแผนการรักษาดูแลท่ีความเข้าใจ
และความต้องท่ีตรงกันท้ังผู้ให้บริการ ญาติ ผู้ป่วย - การเข้าถึงและการนายาไปใช้ที่บ้าน
- การจัดการวัสดุ ของเสีย ยา ในชุมชน
- การเสียชีวิตท่ีบ้าน
4. เครือข่ายที่เก่ียวข้อง
- หน่วยงานอ่ืนๆ ที่เกี่ยวข้อง เช่น อบต.ในพื้นที่
- การพัฒนาหน่วยงานในชุมชนเป็นหน่วยสนับสนุนการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้าย เช่น แหล่งอุปกรณ์ คนดูแลในชุมชน - การสื่อสารในสังคมออนไลน์และการรักษาความลับของผู้ป่วย
- การเข้าถึงบริการจากชุมชน
- บทบาทของอาสาสมัคร
- อื่นๆ เช่น ชุมชนข้ามเขตบัตรทอง การเบิกจ่ายค่าอาหาร/อุปกรณ์สนับสนุนการดูแล
ผศ.นพ.พรเลิศ ฉัตรแก้ว
การดแู ลผปู้ ว่ ยระยะสดุ ทา้ ยในนประเทศไทยยงั ไมม่ รี ปู แบบหรอื การจดั การทเี่ ปน็ มาตรฐานเฉพาะหวั ใจหลกั ของการดแู ลผปู้ ว่ ยระยะสดุ ทา้ ย คือ การเปิดใจรับฟังความต้องการของผู้ป่วยรับฟังปํญหาของผู้ป่วย ไม่ใช้ความรู้สึกหรือมาตรฐานมา
จัดการกับผู้ป่วยหากมีการรับฟังความต้องการท่ีผู้ป่วยระยะสุดท้ายท่ีต้องการ จะทาให้ผลของการดูแลรักษผู้ป่วยมีประสิทธิภาพ เดิมการ ดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายจะใช้ระยะเวลามาแป็นข้อกาหนดในการจัดการผู้ป่วยระยะสุดท้าย
สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน) 344