Page 342 - คุณค่า คุณภาพ คุณธรรม ถอดบทเรียนงานประชุมวิชาการ
P. 342

 B2-103
Quality End of
Life Care
 ถ้อยคา
ท่ีเป็นแรงบันดาลใจของเร่ือง
  “Spiritual ไม่ได้เกีย่ วกับศาสนา แต่จะทาอย่างไรให้อัตลักษณ์ได้คงอยู่ แม้ในวันทปี่ว่ยและในวันทีจ่ากไป” (ผศ.ดร.ภาวิกา ศรีรัตนบัลล์)
   วิทยากร
ผู้ถอดบทเรียน ตําาแหน่ง
วันที่และเวลา
บทนา
นพ.ภรเอก มนัสวานิช (หัวหน้าศูนย์ชีวาภิบาล โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์)
ผศ.นพ.พรเลิศ ฉัตรแก้ว (ผู้ช่วยผู้อําานวยการ โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์)
ผศ.ดร.ภาวิกา ศรีรัตนบัลล์ (รองผู้อําานวยการสถาบันเอเชียศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย) รศ.ดร.นพ.จิรุตม์ ศรีรัตนบัลล์ (หัวหน้าศูนย์วิจัยเพื่อการพัฒนาระบบบริการสุขภาพคณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย)
นงนุช สมประชา
พยาบาลวิชาชีพชําานาญการ โรงพยาบาลสวนผ้ึง
15 มีนาคม 2561 เวลา 10.30 น. - 12.00 น. ห้อง Sapphire 103
  Hospice Care ในประเทศไทยยงั ไมม่ กี ารนยิ ามความหมายทช่ี ดั เจน สว่ นใหญม่ กี ารดา เนนิ งานทเี่ รมิ่ ตน้ จากการดแู ลผปู้ ว่ ยประคบั ประคอง (Palliative Care) จึงได้มีการศึกษาเพิ่มเติมมากขึ้น และให้นิยามของ Hospice หรือ การบริบาลผู้ป่วยระยะท้ายไว้ว่า เป็นการให้การดูแลรักษา แบบประคับประคอง (Palliative Care) แก่ผู้ป่วยในระยะท้ายของชีวิต โดยทีมสหสาขาวิชาชีพ ในสถานที่และสิ่งแวดล้อมที่มีการจัดไว้ อย่างเหมาะสม ด้วยจุดมุ่งหมายเพื่อบรรเทาความทุกข์ทรมานและสร้างเสริมคุณภาพชีวิตทางสุขภาพของผู้ป่วยและครอบครัว ครอบคลุมช่วง ระยะท้ายของชีวิต (Terminal phase) รวมถึงในช่วงระยะแรกภายหลังการเสียชีวิตของผู้ป่วย (Bereavement phase) การมุ่งเน้นในเรื่องการ บริบาลผู้ป่วยระยะสุดท้ายที่สาคัญคือบทบาทในการดูแลของสมาชิกครอบครัว จึงต้องมีการดูแลแบบบูรณาการ (Integrated and Holistic Care) มีการออกแบบการดูแลร่วมกัน (Co-Creation of Care) เน้นสร้างการดูแลและความสัมพันธ์การดูแลที่บ้าน (Home, Relationship centered)


















































































   340   341   342   343   344