Page 340 - คุณค่า คุณภาพ คุณธรรม ถอดบทเรียนงานประชุมวิชาการ
P. 340
A3-103
19th HA National Forum
3. Physical therapy and occupational therapy การทากายภาพบาบัดและกิจกรรมบาบัด เพื่อให้ผู้ป่วยสามารถกลับมาใช้ชีวิต ประจาวันได้อย่างปกติ ท้ังนี้การออกแบบกิจกรรมบาบัดจะแตกต่างกันไปตามบริบทพื้นที่ ชีวิตประจาวัน เช่น ผู้ป่วยในแถบภาคใต้ต้องฝึกการกรีด ยาง ผู้ป่วยชาวพม่าฝึกการไถนา ในขณะที่วิถีชีวิตของชาวสิงคโปร์อาจต้องฝึกสอนวิธีการฉีกซองสิ่งของ การชงชา เป็นต้น
4. Mind-body techniques ที่ใช้ในหน่วยระงับปวดของศิริราชพยาบาล คือ เทคนิคการผ่อนคลาย (Relaxation technique) ด้วย บทนาต่างๆ ซึ่งต้องอาศัยการทาในสถานท่ีท่ีค่อนข้างสงบ Biofeedback เป็นการใช้อุปกรณ์/เครื่องมือกระตุ้นเตือนทางสรีรวิทยา เช่น ไม่ให้เกร็ง Guided imagery (จินตภาพภายใต้การช้ีนา) เพื่อช่วยลดปวดจากความกลัวของผู้ป่วย เช่น กลัวการทาหัตถการการรักษา โดยการอยู่เป็นเพื่อน พูด คุย แสดงให้รับรู้ว่ามีการขจัดส่ิงท่ีกลัวออกไปจากหัตถการนั้น
5. Yoga and tai chi ยืดเหยียดกล้ามเน้ือ ใช้ลักษณะการเคลื่อนไหวอย่างช้าๆ ร่วมกับสมาธิ (Meditation) โดยเลือกให้เหมาะสมกับ ลักษณะ และอวัยวะที่ปวด
6. Biofeedback ใช้อุปกรณ์/เครื่องมือฝึกเพื่อไม่ให้ผู้ป่วยทาในสิ่งท่ีทาให้ปวด เช่น การเกร็งของคอ บ่า ไหล่
7. Music therapy การใช้กิจกรรมทางดนตรี ไม่ เพ่ือบาบัดความปวดจากการเร้าทางอารมณ์ จิตวิญญาณ กระตุ้นให้มีการเคล่ือนไหว
ทางการ
8. นวดสบายคลายปวด ทั้งการนวด หรือการลูบสัมผัสอวัยวะบริเวณท่ีมีความปวด ซึ่งการนวดเพื่อคลายปวดทาได้โดยใช้มือ และอุปกรณ์
อย่างเช่น นวตกรรมอุปกรณ์รูปเคียวของหน่วยระงับปวด ศิริราชพยาบาล
วรรณิภา สิทธิธ์ รรมวิไล
แลกเปล่ียนประสบการณ์กระบวนการทางานการจัดการความปวดคลินิกระงับปวด โรงพยาบาลรามาธิบดี ซึ่งให้บริการบาบัดความปวด ชนิดเฉียบพลัน และเร้ือรังในผู้ป่วยนอก ผู้ป่วยในและผู้ป่วยระยะสุดท้ายแบบประคับประคองร่วมกับทีมสหสาขา และการบริการความรู้ทั้งการเรียน การสอน การวิจัยและแหล่งศึกษาดูงาน โดยมีเป้าหมายเพ่ือให้บริการที่ดี มีคุณภาพ ผู้ป่วยปลอดภัยและพึงพอใจ ข้อมูลย้อนหลังตั้งแต่ปี 2555 พบว่า มีจานวนผู้ป่วย Chronic Pain เข้ารับบริการเพิ่มสูงข้ึนอย่างต่อเน่ือง เช่นเดียวกับการเพ่ิมขึ้นของหัตถการระงับปวดทั้งจานวนและประเภท เช่น การทา Nerve block ตาแหน่งต่างๆ Spine intervention Intravenous infusion เป็นต้น มีการกาหนดกระบวนการเตรียมผู้ป่วยทาหัตถการ pain intervention เพื่อไม่ให้ผู้ป่วยเสียโอกาสเนื่องจากความไม่พร้อม ประกอบด้วย 2 ส่วนคือ ส่วนท่ีหนึ่งการเตรียมผู้ป่วยวันตรวจคร้ังก่อนการทา ห ตั ถ ก า ร ส ว่ น ท สี ่ อ ง ก า ร เ ต ร ยี ม ผ ป้ ู ว่ ย ว นั ท า ห ตั ถ ก า ร ใ น แ ต ล่ ะ ข น้ ั ต อ น ข อ ง ก ร ะ บ ว น ค ณุ ภ า พ ด งั ก ล า่ ว ม กี า ร ป ร บั ป ร งุ ง า น จ น เ ก ดิ เ ป น็ น ว ต ก ร ร ม 4 น ว ตั ก ร ร ม เช่น “ใบเหลืองนาทาง” เป็นนวตกรรมที่ได้รับรางวัลระดับโรงพยาบาล ช่วยให้ผู้ป่วยไม่เสียเวลาจากการหลงทางและการรอคอย เกิดจากการ มีส่วนร่วมของคนทางานท่ีมองเห็นปัญหา และต้องการพัฒนางานให้ดีข้ึนรองรับการให้บริการผู้ป่วยจานวนมากได้อย่างปลอดภัย พึงพอใจ นอกจากนี้ แล้วยังมีการพัฒนากระบวนการรวบรวมข้อมูลสถิติโดยใช้โปรแกรมสาเร็จรูปท่ีสร้างขึ้นโดยบุคลากรในโรงพยาบาล โครงสร้างข้อมูลมีรายละเอียด ท้ังในเรื่องของข้อมูลพ้ืนฐานของผู้ป่วย และข้อมูลจาเพาะเกี่ยวกับความปวด เลือกการแสดงผลได้ตามความต้องการของผู้ป่วย เป็นประโยชน์ อย่างมากต่อการนาไปพัฒนาคุณภาพบริการ และการจัดการความรู้
สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน) 340