Page 338 - คุณค่า คุณภาพ คุณธรรม ถอดบทเรียนงานประชุมวิชาการ
P. 338

A3-103
19th HA National Forum
  รศ.พญ.ศศิกานต์ นิมมานรัชต์
Essential Pain Management (EPM) มีความสาคัญเนื่องจากความปวดเป็นอาการท่ีพบได้เป็นปกติในผู้ป่วยท่ีมาพบแพทย์หากมีการ ประเมิน ในขณะเดียวกันความปวดน้ันมักได้รับการจัดการท่ีไม่ดีพอ จึงต้องการระบบท่ีดีในการจัดการ ซึ่งในปัจจุบัน RAT system เป็นระบบของ การจดั การความปวดทใี่ หค้ วามสา คญั โดยราชวทิ ยาลยั วสิ ญั ญแี พทยแ์ หง่ ออสเตรเลยี และนวิ ซแี ลนด์ มอี งคป์ ระกอบ 3 สว่ น ไดแ้ ก่ Recognize Assess และ Treat
Recognize หมายถงึ การตระหนกั ถงึ การรบั รคู้ วามปวด นนั่ คอื การระบวุ า่ ผปู้ ว่ ยมคี วามปวด หรอื ไมม่ คี วามปวดโดยการซกั ถามและสงั เกต พฤติกรรมร่วมด้วยซึ่งบางครั้งก็เป็นการยากที่จะระบุ ท่ีสาคัญควรตระหนักว่ายังมีบุคคลอื่นๆ อีกหรือไม่ ที่รับรู้อาการปวดของผู้ป่วยรายน้ันๆ เพราะ ความปวดที่ไม่ได้รับการบาบัดรักษาก่อให้เกิดความทุกข์ทรมาน (suffering) ทั้งของผู้ป่วย ญาติ และผู้ดูแล ท่ีสาคัญคือ ถ้ามีการรับรู้การบาบัดรักษา ไม่ใช่เรอื่ งทย่ี ุ่งยากจนมากเกนิ ไป สามารถลดผลกระทบท้ังด้านร่างกาย (Physical) จิตใจ (Psychological) สังคม (Society) และครอบครวั (Family)
Assess หมายถึง การประเมินความปวด ดังรายละเอียดต่อไปน้ี
1. การวดั ความรนุ แรง (Severity) ของความปวดโดยใชร้ ะดบั คะแนนความปวด (Pain score) ดว้ ยมาตรวดั ตา่ งๆ เชน่ Verbal Rating Scale Visual Scale แตป่ ระเดน็ สา คญั คอื ตอ้ งประเมนิ ทง้ั ในขณะพกั (At rest) และขณะเคลอื่ นไหวหรอื ทา สง่ิ ใดทสี่ มั พนั ธก์ บั ความปวด (With movement) การตดั สนิ ใจรกั ษาใหพ้ จิ ารณาจากระดบั คะแนนทมี่ ากกวา่ และควรพจิ ารณาผลกระทบของความปวดทเี่ กดิ ขนึ้ กบั ผปู้ ว่ ยรว่ มดว้ ย เชน่ ผปู้ ว่ ยหลงั ผา่ ตดั มีความปวดจนไม่สามารถเคล่ือนไหว ไม่สามารถไอ ทาให้เสี่ยงต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อนขึ้นได้ เป็นต้น ท้ังน้ีในกลุ่ม Chronic Non-cancer เป้าหมายการรักษาไม่ใช่ระดับคะแนนที่ลดลงแต่ต้องทาให้ผู้ป่วยกลับไปทางานได้ตามปกติ
2. การประเมินชนิด (Type) ของความปวด ต้องแยกระหว่าง Acute หรือ Chronic Cancer หรือ Non-cancer และ Nociceptive หรือ NeuropathicPainเพราะชนดิ ของความปวดมผี ลตอ่ การเลอื กแนวทางการรกั ษาหรอื การใชย้ าระงบั ปวดโดยใชช้ ว่ งเวลา(Duration)สาเหตขุ องความ ปวด (Cause) กลไกการเกดิ (Mechanism)ในการแยก ตวั อยา่ งเชน่ Chronic pain ตอ้ งมรี ะยะเวลาปวดตอ่ เนอื่ งไมน่ อ้ ยกวา่ 3 เดอื น หรอื phantom pain ซงึ่ เปน็ อาการปวดหลอนในตา แหนง่ ของอวยั วะทถ่ี กู ตดั แลว้ อาการปวดแสบปวดรอ้ น (Burning) ทบี่ ง่ บอกถงึ ความปวดชนดิ Neuropathic Pain
3. การประเมินปัจจัยอ่ืนๆ ท้ังด้าน ร่างกาย (Physical) และจิตใจ (Psychological) ทั้งน้ีพึงระลึกว่าการประเมินความปวดทางกายไม่ อาจแยกออกจากการประเมินการรับรู้ทางอารมณ์ความรู้สึกของผู้ป่วย (Emotion) ได้ เพราะพยาธิสรีรวิทยาของความปวด (Pain Physiology and Pathology) ในข้ันตอนของการส่งสัญญาณความปวดจากไขสันหลังไปสมอง มี pathway ที่ไปยัง limbic system ซ่ึงเกี่ยวข้องกับอารมณ์ความปวด ท่ีเก่ียวข้องกับความรู้สึก ไม่พึงพอใจ ไม่สุขสบาย
 สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน)   338

























































































   336   337   338   339   340