Page 337 - คุณค่า คุณภาพ คุณธรรม ถอดบทเรียนงานประชุมวิชาการ
P. 337

A3-103
19th HA National Forum
  รศ.นพ.ธวัช ชาญชญานนท์
เป้าหมายของการจัดการความปวด คือ ผู้ป่วยได้รับการสนับสนุนในการจัดการความเจ็บปวดอย่างมีประสิทธิภาพเนื่องจากความปวดเป็น ความทกุ ขท์ รมาน ในการกา หนดนโยบายเพอื่ รองรบั เปา้ หมายจงึ ควรประกอบดว้ ย การระบผุ ปู้ ว่ ยทม่ี คี วามปวด การใหข้ อ้ มลู ผปู้ ว่ ยเกยี่ วกบั ความปวด และทางเลือกในการจัดการความปวด แนวปฏิบัติการจัดการความปวด การให้ความรู้แก่ผู้ป่วยและญาติ ประการสุดท้ายคือ การให้ความรู้บุคคลา กรในการจัดการความปวด มาตรฐานโรงพยาบาลและบริการสุขภาพได้กาหนดให้ความปวดเป็นนโยบายความปลอดภัยของผู้ป่วย (Patient Safety Goal: SIMPLE) มีสาระสาคัญดังนี้
1. การจัดการความเจ็บปวดโดยท่ัวไป (Pain Management in General) เป้าหมายคือต้องการให้ผู้ป่วยได้รับการจัดการความปวดอย่าง ปลอดภัยและมีประสิทธิภาพ ด้วยความเหมาะสมตามบริบทท่ีสถานพยาบาลน้ันๆ มีบุคลากรและทรัพยากรที่สามารถกระทาได้ มีแนวปฏิบัติภาพ รวมคือ รักษาสาเหตุของความปวด เท่าที่ทําาได้ กําาจัดความปวด ตามอาการระหว่างท่ีสาเหตุยังได้รับการแก้ไขไม่หมดส้ินนั่นคือต้องประเมินระดับ ความรนุ แรงของความปวดดว้ ยเครอื่ งมอื ประเมนิ ทเี่ หมาะสมและใหก้ ารรกั ษาโดยการใชย้ าและไมใ่ ชย้ าครอบคลมุ ทง้ั สามมติ ิ ไดแ้ ก่ ชวี ะ จติ และสงั คม มีการประเมินความปวดซ้าหลังการรักษา และการส่งต่อผู้เชี่ยวชาญในกรณีความปวดที่มีความซับซ้อน
2. การจัดการความปวดเฉียบพลัน (Acute Pain Management) แนวปฏิบัติสาคัญที่นอกเหนือจากท่ีกาหนดในข้อ 1 และเป็นแนวคิด ปัจจุบัน คือ การจัดการความปวดเฉียบพลันหลังผ่าตัดหรือหัตถการทางการแพทย์ท่ีก่อให้เกิดความปวด โดยใช้หลักของ multimodal analgesia และ preventive analgesia ท่ีเหมาะสมตามชนิดของหัตถการหรือการผ่าตัด
3. การระงบั ความปวดเรอื้ รงั ทม่ี ใิ ชม่ ะเรง็ ดว้ ย opioids เปา้ หมายคอื ประสทิ ธภิ าพและความปลอดภยั และลดความเสย่ี งจากการใช้ opioids เป็นเวลานาน อันได้แก่ การใช้ผิดวัตถุประสงค์ การใช้เกินขนาด และเสียชีวิต
4. การจัดการความปวดในผู้ป่วยมะเร็งและผู้ป่วยระยะท้าย (Management of Cancer Pain and Palliative care) แนวปฏิบัติสาคัญ คือ การประเมิน และการจัดการความปวดร่วมไปกับอาการไม่สุขสบายอื่นๆ
ตัวอย่าง นโยบายที่เป็นรูปธรรม จากการทบทวนการจัดการความปวดเฉียบพลันหลังการผ่าตัดของโรงพยาบาลสงขลานครินทร์ มีการ กา หนดเปา้ หมายใหผ้ ปู้ ว่ ยทกุ คนตอ้ งไดร้ บั การประเมนิ และบา บดั รกั ษาความปวดอยา่ งเหมาะสมกบั ระดบั ความรนุ แรงและลกั ษณะความเจบ็ ปวดใน แนวทางเดียวกันทั้งโรงพยาบาล นาเป้าหมายลงสู่การปฏิบัติโดยการจัดทาแนวทางการดูแลรักษาผู้ป่วยท่ีมีความปวดเฉียบพลันหลังผ่าตัดครอบคลุม 3 ประเด็นหลักคือ การประเมินผู้ป่วยและเลือกวิธีระงับปวดตามประเภทการผ่าตัด การเลือกวิธีระงับความรู้สึก การประเมินผลการระงับปวดและ การประเมินซ้า รวมท้ังการขจัดอุปสรรคในการเข้าถึงยาระงับปวดโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการบริหารโรงพยาบาล รวมท้ังการปฐมนิเทศ แพทย์ใช้ทุนและผู้เก่ียวข้อง จากการใช้แนวทางการดูแลรักษาผู้ป่วยที่มีความปวดดังกล่าวมีการทดลองรวบรวมข้อมูลผลการดาเนินงานในช่วงเวลา สั้นๆ เม่ือนามาวิเคราะห์พบว่าความปวดในการผ่าตัดบางประเภทไม่เป็นไปตามผลลัพธ์ท่ีคาดหวัง ในขณะท่ีผลลัพธ์กลุ่ม Chronic pain ท้ังมะเร็ง และไม่ใช่มะเร็งระดับความปวดน้อยกว่า 3 ร้อยละ 89.55 และ 83.33
337   สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน)

























































































   335   336   337   338   339