Page 335 - คุณค่า คุณภาพ คุณธรรม ถอดบทเรียนงานประชุมวิชาการ
P. 335

A2-103
19th HA National Forum
 Model of Emergency Palliative Care
1. การจัดระบบการดูแลผู้ป่วยแบบประคับประคองของโรงพยาบาลท่ีแผนกฉุกเฉินสามารถปรึกษาได้
2. การสร้างแชมเปี้ยนด้านการดูแลแบบประคับประคองในแผนกฉุกเฉิน ท่ีสามารถตอบสนองการบริการของผู้ป่วยที่มารับบริการที่แผนก ฉุกเฉินเอง ซึ่งมักเป็นแพทย์ฉุกเฉินที่ได้รับการฝึกอบรมทั้งด้านเวชศาสตร์ฉุกเฉินและการดูแลแบบประคับประคอง เช่น หลักสูตรของ Education in Palliative and End of Life Care-Emergency Medicine (EPEC-CM)
3. การประสานความร่วมมือกับภาคีเครือข่ายสถานพยาบาล Hospice ในท้องถิ่นเพื่อให้สามารถตอบสนองความต้องการของผู้ป่วยได้
ตัวอย่าง Hospice ของคณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
• จัดทาแนวทางด้านการให้บริการผู้ป่วย แนวทางการให้คาปรึกษา แนวทางการประเมิน และแนวทางการให้บริการที่เชื่อมโยง
• การจัดการความรู้ในบุคลากรที่ให้บริการ การให้ยา การสร้างแชมเป้ียนในการดูแล การให้ยาที่ที่ห้องฉุกเฉินแล้วกลับบ้านได้
• สร้าง Nurse case manager เม่ือผู้ป่วยกลับบ้าน สามารถโทรศัพท์ติดต่อมาได้ตลอดในช่วงสุดท้ายของชีวิต
• แผนการพัฒนาต่อในเร่ืองการสร้างสถานพยาบาลรับรองผู้ป่วยชุมชนเมืองที่ไม่สามารถเสียชีวิตท่ีบ้านได้เนื่องจากเป็นห้องเช่าผลการ
ดาเนินงานท่ีเกิดขึ้นและเป็นรูปธรรมคือการจัดการผู้ป่วยในงานอุบัติเหตุฉุกเฉิน ที่สามารถจาหน่ายผู้ป่วยออกได้รวดเร็วขึ้นไม่มีผู้ป่วยท่ี ค้างในห้องฉุกเฉิน
บทส่งท้าย
องค์กรท่ีสามารถส่งต่อสินค้า ส่งมอบสิ่งที่ลูกค้าพ่ึงพอใจได้น้ัน องค์กรนั้นต้องมีกระบวนการจัดการในองค์กร มีแผนยุทธศาสตร์ในการ ดาเนินงานที่ทาให้บุคลากรในองค์กรทางานได้อย่างมีความสุข ดังน้ันการประเมินมาตรฐานคุณภาพโรงพยาบาล ทีมประเมินจะมีการประเมินถึง ความพึงพอใจ การอยู่ดีมีสุข ความปลอดภัยของบุคลากร หากบุคลากรไม่มีความสุข ก็จะเป็นการประเมินได้ว่าองค์กรนั้นไม่มีความสามารถในการ จัดการให้องค์มีความสุขได้ หลายๆ หน่วยงานท่ีมีผลการดาเนินงานด้านคุณภาพจะพบว่าบุคลากรมีความสุขในการทางาน มีระบบการทางานที่ไม่ ขึ้นกับบุคคล ผู้ป่วยเข้าถึงการบริการได้ไม่ต้องรอคอย ผู้บริหาร ผู้นามีความสาคัญในการดาเนินงานหากผู้นามีความเข้าใจมีเป้าหมายที่ชัดเจน ออกนโยบายสอดคล้อง การทางานก็สาเร็จลุล่วงได้ดี แต่หากผู้บริหารไม่เข้าใจ ไม่สามารถกาหนดเป้าหมายได้ การออกแบบกระบวนการก็ไม่ชัดเจน ฉะนนั้ ควรนา หลกั 3 P (Purpose Performance Process) ของการรบั รองมาตรฐานโรงพยาบาลมาใชใ้ นการวเิ คราะหก์ ารดา เนนิ งาน ระบบ Hospice สถานพยาบาลหลายแหง่ ยงั มคี วามกงั วลในเรอื่ งตวั ชวี้ ดั อตั ราการตายทส่ี งู ขนึ้ การรบั รองมาตรฐานคณุ ภาพโรงพยาบาลไมไ่ ดม้ งุ่ ประเดน็ ทกี่ ารตายทสี่ งู ข้ึนแต่การจัดการในเรื่องคุณภาพชีวิตและความสุขก่อนเสียชีวิตท่ีนามาประเมินมาตรฐานคุณภาพโรงพยาบาล (รศ.พญ.ยุวเรศมคฐ์ สิทธิชาญบัญชา)
ข้อค้นพบใหม่ทีไ่ด้จากเรือ่ง
Hospice ไม่มีรูปแบบการดาเนินงานเฉพาะแต่เป็นการออกแบบการดาเนินงานที่เหมาะสมกับบริบทของสถานพยาบาลหรือโรงพยาบาล นั้นตรงกับความต้องการของผู้ป่วย แต่ท่ีสาคัญเน้นไปท่ีระบบการดูแลผู้ป่วย การจัดการระบบที่เอื้อต่อการให้บริการระยะสุดท้าย ผู้บริหารมีความ เข้าใจในระบบสามารถกาหนดเป้าหมายในการดาเนินงาน ระบบ Hospice บุคลากรมีจิตบริการที่เป็นจิตอาสา มีความมุ่งมั่นยอมรับในบทบาทการ ดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้าย ทาให้การปรับเปลี่ยนสู่ระระบบ Hospice ผู้ป่วยมีที่พ่ึงและมีความสุขในระยะสุดท้ายของชีวิต
ปจัจัยแห่งความสาเร็จ
1. ผู้บริหารมีความเข้าใจในระบบ Hospice เกิดการผลักดันเชิงนโยบาย มีการกาหนดเป้าหมายที่ชัดเจน 2. ใช้ข้อมูลจากการวิเคราะห์สถานการณ์ในพ้ืนที่
3. กาหนดกระบวนการในการดาเนินงานที่ตรงกับความต้องการผู้ป่วย
4. การประสานความร่วมมือของสหสาขาวิชาชีพทางานเป็นทีม
5. มีการพัฒนาความเฉพาะของงานเน้นพัฒนาความรู้ให้เกิดความเชี่ยวชาญเฉพาะ 6. การติดตามประเมินผลอย่างต่อเน่ืองจากข้อมูลที่เกิดจากการทางาน
 335   สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน)













































































   333   334   335   336   337