Page 334 - คุณค่า คุณภาพ คุณธรรม ถอดบทเรียนงานประชุมวิชาการ
P. 334

A2-103
19th HA National Forum
 การดูแลแบบประคับประคอง (Palliative care)
จะตอ้ งเรมิ่ ตน้ ตงั้ การวนิ จิ ฉยั โดยทวั่ ไปจะเขา้ ใจวา่ Palliative care คอื ผปู้ ว่ ยโรคมะเรง็ แตค่ วามจรงิ แลว้ ผปู้ ว่ ยทเ่ี ปน็ โรคมะเรง็ จะเปน็ ผปู้ ว่ ย Palliative care มากที่สุด แต่ Palliative care ไม่ใช่โรคมะเร็ง อาจเป็นผู้ป่วยที่ถูกวินิจฉัยด้วยโรคที่เป็นภาวะคุกคามต่อชีวิต เช่น โรคไตวาย ตับวาย ภ า ว ะ S t r o k e ท กี ่ ล บั เ ป น็ ซ า ้ บ อ่ ย ๆ ว นิ จิ ฉ ยั ใ ห เ้ ร ว็ ท สี ่ ดุ ป ร กึ ษ า ท มี P a l l i a t i v e c a r e เ พ อื ่ ใ ห ผ้ ป้ ู ว่ ย ม คี ณุ ภ า พ ช วี ติ ท ดี ่ ขี นึ ้ เ ด มิ ก า ร ด แู ล P a l l i a t i v e c a r e ส นิ ้ ส ดุ
เม่ือผู้ป่วยเสียชีวิต แต่สิ่งที่พบจะเห็นว่ามีอัตราการสูญเสียครอบครัวเมื่อคู่สมรสเสียชีวิตใน 1 ปีค่อนข้างสูงโดยท่ีไม่มีโรคประจาตัวมาก่อน เกิดลูกกาพร้า ปัญหาครอบครัวที่ต้องดูแลเพิ่มข้ึน ตามแนวคิดใหม่การดูแลจะต้องดูแลจนครอบครัวสามารถอยู่ได้ ระยะเวลาประมาณ 3 เดือน
แนวคิดการบริบาลระยะสุดท้าย (Hospice)
คือ รูปแบบการดูแลในระยะ 6 เดือนสุดท้ายของชีวิต อาจตั้งเป็นสถานบริบาลผู้ป่วยระยะสุดท้าย (Hospice) สถานพยาบาลที่รับรองดูแล ผู้ป่วยระยะสุดท้าย (province hospice) หรือ การดูแลที่บ้านระยะสุดท้าย (Home care hospice) จะเป็นรูปแบบใดก็ได้ แต่ยังไม่มีรูปแบบใด ที่ดีที่สุด เพราะการจัดการดูแล Hospice ส่วนใหญ่มีพยาบาลเป็นเจ้าภาพในการดูแลและมีการจัดตั้งสถานพยาบาลนอกโรงพยาบาลข้ึน ผู้บริหาร จึงกังวลในเรื่องงบประมาณในการจัดต้ัง จึงให้ใช้กระบวนการของ 3 P เข้ามากาหนด
1 .Purpose จะมีการจัดตั้งสถานบริบาลระยะสุดท้ายทาไม มีรูปแบบการดูแลเพื่ออะไร
2. Performance กาหนดการวัดความสาเร็จการดาเนินงานHospice อย่างไร
3. Process ออกแบบกระบวนการในการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้าย มีการวิเคราะห์ว่าการดูแลผู้ป่วยนั้นควรมีแค่กระบวนการหรือมีการจัด
ตั้งเป็นสถานพยาบาล
ตวั อยา่ งการวเิ คราะห์ คณะแพทยศาสตรโ์ รงพยาบาลรามาธบิ ดี มหาวทิ ยาลยั มหดิ ล ยงั ไมค่ วรทจ่ี ะจดั ตง้ั สถานบรบิ าล แตค่ วรมกี ระบวนการ
การดแู ลผปู้ ว่ ยระยะทา้ ยทบี่ า้ น (Home Hospice) เพราะตอ้ งใชง้ บประมาณในการจดั ตงั้ สงู ในการดา เนนิ งานสามารถดแู ลผปู้ ว่ ยในชว่ ง 6 เดอื นสดุ ทา้ ย ให้มีคุณภาพชีวิตที่ดี ตอบสนองความต้องการ กาย ใจ จิตและสังคม การออกแบบอย่างไรข้ึนอยู่กับความเหมาะสมและการจัดการของโรงพยาบาล พื้นที่ การออกแบบการดูแลผู้ระยะสุดท้ายถือว่ามีความสาคัญมากเพราะหากไม่มีสถานบริบาลรับรองต่างประเทศมีการจัดตั้งสถานการณ์ คือ ดูแล ผู้ป่วยระยะสุดท้าย (Hospice) ท่ีไม่ใช้สถานพยาบาล จึงต้องมีการกาหนดมาตรฐานในการดูแลเพื่อความปลอดภับของผู้ป่วย
ผปู้ ว่ ยระยะสดุ ทา้ ยจะเกดิ ภาวะคกุ คามชวี ติ ทา ใหผ้ ปู้ ว่ ยตอ้ งมาเขา้ รบั การรกั ษาแบบฉกุ เฉนิ และตอ้ งมาพบกบั การคดั แยกผปู้ ว่ ยทหี่ อ้ งฉกุ เฉนิ เพราะเหตุผลผู้ป่วยระยะสุดท้ายท่ีต้องมารับบริการที่ห้องฉุกเฉิน คือ
• มีอาการไม่สุขสบาย หรือทุกข์ทรมานจากโรคที่คุกคาม เป็นสาเหตุที่พบมากท่ีสุด
• ไม่สามารเข้าถึงแผนกผู้ป่วยนอกได้ เช่นคิวเต็มหรือคิวยาว ผู้ป่วยไม่อยู่ในสภาวะที่ดีพอจะไปรอตรวจแบบผู้ป่วยนอก เช่น มีสายต่างๆ
หรืออ่อนล้ามาก
• การส่ือสารที่ไม่ชัดเจนหรือผิดพลาดระหว่างผู้ให้บริการกับผู้รับบริการ เช่น เรื่องภาษาที่แตกต่างกัน ความรู้ความเข้าใจของผู้รับบริการท่ี
ไม่ชัดเจน ทาให้ผู้ป่วยไม่สามารเข้ารับบริการในช่องทางอ่ืนได้จึงต้องมาแผนกฉุกเฉิน
• ความสบั สนในขอ้ มลู ของหลากหลายทมี ทเ่ี ขา้ มาดแู ลผปู้ ว่ ย ตลอดจนความเหน็ ทแ่ี ตกตา่ งกนั ของทมี ผดู้ แู ลผปู้ ว่ ย โดยเฉพาะการพยากรณโ์ รค • แผนก ไม่ใช่สถานท่ีที่เสียชีวิตสาหรับผู้ป่วยระยะสุดท้าย เนื่องจากขาดความเป็นส่วนตัว ผู้ให้บริการมีจานวนน้อยและขาดความรู้ความ
เชย่ี วชาญในการดแู ลผปู้ ว่ ยแบบประคบั ประคองโดยเฉพาะเมอื่ เขา้ สรู่ ะยะสดุ ทา้ ย การมกี ารจดั แนวทางการดแู ลผปู้ ว่ ยระสดุ ทา้ ยในแผนก
ฉุกเฉิน นั้นจะช่วยให้ผู้ให้บริการดูแลผู้ป่วยได้ดีขึ้น สื่อสารกับผู้ป่วยและครอบครัวได้ชัดเจนขึ้น หากไม่มีการจัดการในเรื่องการดูแลผู้ป่วยแบบประคับประคองในระยะสุดท้าย ก็จะพบปัญหาในเรื่องการมารักษาของผู้ป่วยท่ีห้องฉุกเฉิน
มากข้ึนแต่ถ้ามีการจัดการการดูแลจะไม่พบผู้ป่วยท่ีเป็นโรคเรื้อรังมารับการรักษาท่ีห้องฉุกเฉินถึงแม้มี ผู้ป่วยเข้ารักษาก็จะไม่พบผู้ป่วยที่ตกค้างนอนดูอาการที่ห้องฉุกเฉิน การดูแลแบบประคับประคองยังก่อให้เกิดประโยชน์ในการดูแลผู้ป่วย
ท่ีบาดเจ็บรุนแรง ทั้งในสภาวะปกติและภาวะท่ีเกิดภัยพิบัติต่างๆ การดูแลแบบประคับประคองครอบครัวที่ต้องเผชิญกับการสูญเสียผู้ป่วย ตลอดจน ผลของการยนิ ยอมบรจิ าคอวยั วะของผปู้ ว่ ยเพมิ่ ขนึ้ ฉะนนั้ การดแู ลผปู้ ว่ ยตอ้ งใชค้ วามรใู้ นการดแู ลเฉพาะ “รแู้ ตกตา่ งจากชาวบา้ น” จากการเกบ็ ขอ้ มลู การดูแลแบบประคับประคองในระยะสุดท้ายที่ห้องฉุกเฉิน
• การดูแลผู้ป่วยเด็กแบบประคับประคองในแผนกฉุกเฉินนั้นมีค่อนข้างจากัด
• ผู้ป่วยเด็กส่วนใหญ่เสียชีวิตที่บ้าน มีเพียง ร้อยละ 14 เสียชีวิตท่ีห้องฉุกเฉินเป็นเพราะความรักที่ต้องการดูแลในระยะสุดท้าย
• ผปู้ ว่ ยเดก็ ทเี่ สยี ชวี ติ ทแี่ ผนกฉกุ เฉนิ มอี ตั ราสว่ นของผปู้ ว่ ยโรคมะเรง็ นอ้ ยกวา่ ผใู้ หญ่ สา หรบั การเสยี ชวี ติ ในแผนกฉกุ เฉนิ ของผปู้ ว่ ยโรคเรอื้ รงั
ในเด็กน้ันมักจะเป็นกลุ่มโรคหัวใจและหลอดเลือด โรคเมตาบอลิกและพันธุกรรม โรคทางระบบประสาทและกล้ามเน้ือ
สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน)   334






































































   332   333   334   335   336