Page 332 - คุณค่า คุณภาพ คุณธรรม ถอดบทเรียนงานประชุมวิชาการ
P. 332

A2-103
19th HA National Forum
  ศ.แสวง บุญเฉลิมวิภาส
การดาเนินงานในเรื่องการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายและการจัดตั้งสถานบริบาลระยะสุดท้าย (Hospice) คณะแพทย์และโรงพยาบาลหลาย แห่งมีความพยายามจัดตั้ง จากที่ท่านได้เป็นท่ีปรึกษาหลายๆ แห่งก็เล็งเห็นในเร่ืองการจัดต้ัง Hospiceของโรงพยาบาลธรรมศาสตร์ ประกอบกับ การดูแลผู้ป่วยในระยะสุดท้ายต้องเสียค่ารักษาจานวนมาก ท่านกล่าวถึง นพ.อุดม คชินทร เคยปาถกฐาไว้ว่า “ถ้าเราไม่พัฒนาระบบการดูแลระยะ สดุ ทา้ ยใหด้ ๆี เราจะเสยี ทรพั ยากรจา นวนมาก ญาตกิ จ็ ะลม้ ละลายและตอ่ มาประเทศชาตกิ จ็ ะลม้ ละลาย” ในเรอื่ งการจดั ตงั้ Hospice ของโรงพยาบาล ธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ
กเ็ กดิ ธรรมจดั สรร คอื มผี บู้ รจิ าคทดี่ นิ ใหจ้ า นวน 44 ไร่ หา่ งจากโรงพยาบาล 5 กม. เมอื่ ดา เนนิ การกต็ อ้ งทา ความเขา้ ใจในเรอื่ งการดแู ลเพราะ สถานบริบาลระยะสุดท้าย (Hospice) ไม่ใช่สถานรับดูแลผู้ป่วย คนชรา (Nursing home) นาผู้ป่วยมาฝากแล้วไม่ยอมมารับกลับ การดาเนินงานของ ศูนย์ธรรมศาสตร์ธรรมรักษ์ในช่วงแรกการรับผู้ป่วยผ่านการส่งตัวจากโรงพยาบาลธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ และต้องได้รับการวินิจฉัยจากแพทย์ วา่ เปน็ การดแู ลระยะสดุ ทา้ ยท่ี หากผปู้ ว่ ยมอี าการดขี นึ้ ในกระบวนการดแู ลตอ้ งมเี ปลยี่ นเปา้ หมายศนู ยธ์ รรมศาสตรธ์ รรมรกั ษ์ จงึ เปน็ สถานพยาบาลท่ี เตรียมความพร้อมในการดูแลก่อนกลับบ้าน มีการเตรียมความพร้อมของญาติในการดูแลผู้ป่วย เตรียมความพร้อมของเครือข่ายในการรับผู้ป่วยกลับ สู่ชมชน หากมีปัญหามีช่องทางสื่อสารการส่งตัวผู้ป่วยเข้ารับการรักษาประเด็นนี้เป็นการทาความเข้าใจกับเจ้าหน้าท่ี ที่มีความกังวลว่า ผู้ป่วยจะต้อง นอนท่ีสถานบริบาล (Hospice) เป็นเวลานาน และต้องทาความเข้าใจในเร่ืองผู้ป่วยที่ต้องใส่ท่อช่วยหายใจ จึงต้องทาความเข้าใจกับญาติผู้ป่วยหาก สมัครใจเข้าสถานบริบาล จะไม่มีการใช้เครื่องช่วยหายใจ การพยาบาลจะให้ความสาคัญกับการใช้ยาและสารน้าเป็นหลัก การดาเนินงานในเรื่องการ ดูแลระยะสุดท้ายในสถานบริบาล จาเป็นต้องทาความเข้าใจกับผู้บริหาร ในการดาเนินงานของศูนย์ธรรมศาสตร์ธรรมรักษ์ ในช่วงแรก เพ่ือลดความ กังวลใจในการดาเนินงานของทุกฝ่าย จึงได้ทาเป็นโครงการท่ีมีความร่วมมือของ 4 หน่วยงาน คือ 1 .คณะนิติศาสตร์ 2. คณะแพทย์ 3. คณะพยาบาล 4. โรงพยาบาลธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ โดยมีท่ีปรึกษาด้านกฎหมาย 10 กว่าท่านพร้อมให้เบอร์โทรศัพท์ในการปรึกษา เพ่ือลดความกังวลด้าน กฎหมายของแพทยแ์ ละพยาบาลได้ อนาคตอาจตอ้ งมนี กั สงั คมสงเคราะหเ์ ขา้ รว่ มในการดา เนนิ งาน ในเรอื่ งการดา เนนิ งานการดแู ลผปู้ ว่ ยระยะสดุ ทา้ ย การจัดตั้งสถานบริบาลผู้ป่วยระยะสุดท้าย (Hospice) ในอนาคตเป็นความจาเป็นท่ีต้องมี เพราะไม่ใช่ใครก็ได้ท่ีอยากเป็นผู้ป่วยระยะสุดท้ายท่ีต้องได้ รับการพยาบาล เจาะคอ ใส่ท่อจะถือว่าเป็นผู้ป่วยถึงวาระสุดท้าย
การขอใบมรณะบตั รเมอื่ มกี ารเสยี ชวี ติ ทบี่ า้ น เพราะทางกฎหมายในบางครงั้ เหน็ วา่ ตายไมเ่ หมาะสมจา เปน็ ตอ้ งมกี ารชนั สตู ร ดงั นนั้ เมอื่ ผอู้ ยู่ ในวาระสดุ ทา้ ยทตี่ อ้ งกลบั ไปดทู บี่ า้ นแนะนา ใหท้ า เปน็ บนั ทกึ การเจบ็ ปว่ ย และภาวะคกุ คามของโรคทจ่ี ะเปน็ สาเหตถุ งึ แกก่ ารเสยี ชวี ติ โดยควรพจิ ารณา ถึงระยะเวลาในการที่ผู้ป่วยจะเสียชีวิตด้วย
ศ.ดร.นพ.อิศรางค์ นุชประยูร
จากประสบการณ์ตรงในเรื่อง Home care การดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายโดยบริบทผู้ป่วย โดยที่ไม่คานึงถึงข้อจากัดเรื่องสถานพยาบาล การดูแลระยะสุดท้าย (Palliative care) กับ Hospice ในเรื่องการดูแลระยะสุดท้าย (Palliative care)เร่ิมตั้งแต่การวินิจฉัยว่าเป็นโรคที่รักษายาก กระบวนการที่เข้ามานอกเหนือจากการรักษา การดูแลคือการเยียวยาทางเลือกเพื่อให้ผู้ป่วยมีคุณภาพชีวิตที่ดี มีความหวังในเรื่องการรักษา ในส่วน ของ Hospice คือการดูแลเพื่อคุณภาพชีวิตผู้ป่วยในระยะสุดท้าย เริ่มเมื่อใกล้เสียชีวิต ไม่มีทางเลือกอ่ืน และจากการที่เคยดูแลผู้ป่วยมะเร็งในเด็ก พบว่า เมื่อรักษาไม่หายและสอบถามความต้องการของผู้ป่วยเด็กว่าความต้องการจะไปอยู่ที่ไหน เด็กที่ป่วยไม่อยากอยู่โรงพยาบาล ความต้องการ ของแพทยค์ อื การรกั ษาแตก่ ารรกั ษากลบั ทา ใหเ้ ดก็ เจบ็ ตวั แลว้ กไ็ มส่ ามารถรกั ษาใหห้ ายเพราะอาการของโรค ทางเลอื กทจี่ ะเยยี วยาผปู้ ว่ ย คอื ใหผ้ ปู้ ว่ ย ไดเ้ ลอื กทจี่ ะไปไหนอาจใหไ้ ปเทยี่ วกไ็ ด้ ในผปู้ ว่ ยทเี่ ปน็ ผใู้ หญก่ ต็ อ้ งการเหมอื นกนั หากรกั ษาไมห่ าย เมอื่ ผปู้ ว่ ยไมอ่ ยากอยโู่ รงพยาบาล มกี ารทา แนวทาง ในการดูแลผู้ป่วยที่บ้าน ทาความเข้าใจกับญาติ การดูแลผู้ป่วยโดยคานึงถึงคุณภาพชีวิต มีการจัดการเย่ียมและติดตามการรักษาท่ีบ้าน ส่วนใหญ่ ในการดาเนินงานเน้นไปที่ผู้ป่วยมะเร็งที่ไม่สมารถรักษาได้ ผลการดาเนินงานพบว่าผู้ป่วยและญาติมีความพึงพอใจ จากการศึกษาและการดูแลผู้ป่วย จะพบว่าส่วนใหญ่ต้องการตายที่บ้าน แต่มีบางส่วนที่ญาติยอมรับไม่ได้ก็ต้องให้คาปรึกษา แต่ทางการแพทย์พบว่าการดูแลระยะสุดท้ายถ้ามีการ จัดเตรียมเรื่องกระบวนการที่ดี จะลดต้นทุนในการดูแลที่โรงพยาบาล เมื่อถึงภาวะฉุกเฉินของผู้ป่วยระยะสุดท้ายจะได้รับการดูแลตามความต้องการ ของผู้ป่วย จึงจาเป็นที่สถานพยาบาลต้องมีการดูแลหรือสถานบริบาลระยะสุดท้าย (Hospice)
 สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน)   332


























































































   330   331   332   333   334