Page 333 - คุณค่า คุณภาพ คุณธรรม ถอดบทเรียนงานประชุมวิชาการ
P. 333
A2-103
19th HA National Forum
ตัวอย่าง St Christopher’s hospice South London UK. มีการดาเนินงานมาประมาณ 50 ปี สิ่งที่พบในการดาเนินงาน ผู้ป่วยมี ความสุขในระยะสุดท้าย ในปัจจุปันการดาเนินงาน มีดังน้ี
• มี 48 เตียง
• ดูแลผู้ป่วยได้ถึง 3,300 คน ร้อยละ 95 ของผู้ป่วยจะเป็นการดูแลที่บ้าน
• ผู้ป่วยที่ไม่สามารถดูแลที่บ้านได้จะถูกส่งตัวเข้ามาท่ี Hospice 2 สัปดาห์ก่อนเสียชีวิต หากมีอาการดีขึ้นก็จะถูกส่งตัวกลับรักษาที่บ้าน
ต่อ (ห้ามอยู่เกิน 2 สัปดาห์)
• รับการส่งตัวจากโรงพยาบาลของรัฐบาล ซึ่งในช่วงแรกจะไม่ยอมรับงบประมาณของรัฐ
การดาเนินงาน Hospice ในประเทศไทยเริ่มจากจิตอาสาแต่ข้อเสียของจิตอาสาคือความไม่แน่นอน มีเวลาก็ทาไม่มีเวลาก็หยุดเป็นสิ่งท่ีดี
ถ้ามีการออกแบบการดาเนินงานท่ีชัดเจนผู้ป่วยก็มีที่พึ่งในระยะสุดท้ายของชีวิต เริ่มจากผู้ป่วยที่เข้ารับการรักษาด้วยโรคท่ีไม่สามารถรักษาได้และต้องนอนรักษาในโรงพยาบาลเป็นเวลานาน ในการดาเนินงานเริ่มจาก
การดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้าย (palliative care) การท่ีจะเปล่ียนแปลงการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายสู่ Hospice ต้องมีการทาความเข้าใจทั้งในบุคลากร ทางการแพทย์ของโรงพยาบาล สภาพแวดลล้อมของผู้ป่วย ทีมคณะผู้บริหารโรงพยาบาลมีความกังวลเพราะโรงพยาบาลผ่านการรับรองมาตรฐาน โรงพยาบาลถ้าหากต้องประเมินในปีต่อไปจะมีผลในเรื่องมาตรฐานโรงพยาบาลอย่างไร และเรื่องต้นทุนของโรงพยาบาลในการปรับมาตรฐานสู่การ บริบาลระยะสุดท้าย (Hospice) ในการทาความเข้าใจ ศ.แสวง บุญเฉลิมวิภาส ร่วมเป็นที่ปรึกษาเกิดเข้าใจในการดาเนินงานการบริบาลระยะสุดท้าย (Hospice) (ข้อความตรงนี้สาคัญ เพราะเป็นจุดเปลี่ยนควรขยายความการทาความเข้าใจกับใคร อย่างไร)
จุดเริ่มต้นของ Palliative care และ Hospice คือความรู้ และความเข้าใจในการดาเนินงาน ที่ชัดเจน ระบุตัวตนของคนทางาน ว่าใคร
รศ.นพ.พฤหัส ต่ออุดม
จะเป็นผู้ทาความเข้าใจในการดาเนินงาน สามารถนาเสนอให้ผู้บริหารทราบเพ่ือสนับสนุนการทางานได้อย่างตรงประเด็น ในเร่ืองการดูแลบุคลากร ก็ต้องทาความเข้าใจ การดูแลแบบประคับประคอง โดยองค์การอนามัยโลกได้ให้คาจากัดความไว้ว่า “กระบวนการดูแลที่ช่วยส่งเสริมคุณภาพชีวิต ของผู้ป่วยและครอบครัว ที่เผชิญกับปัญหาอันสืบเน่ืองมาจากโรคท่ีคุกคามชีวิตของผู้ป่วย ผ่านการป้องกัน และบรรเทาความทุกข์ทรมาน โดยการ ประเมนิ จดั การความปวดและปญั หาตา่ งๆ ทงั้ ดา้ นรา่ งกาย จติ ใจสงั คมและจติ วญิ ญาน” ในบทบาททสี่ า คญั ของผใู้ หบ้ รกิ ารดา้ นสขุ ภาพ (Health care provider) คือ การบรรเทาความทุกข์ทรมานทางกาย และแนวคิดในการดูแลผู้ป่วยแบบประคับประคองขององค์การอนามัยโลก (WHO Palliative Care) ประกอบไปด้วย
รศ.พญ.ยุวเรศมคฐ์ สิทธิชาญบัญชา
1. การบรรเทาความทุกข์ทรมานจากอาการปวดและอาการอ่ืนๆ จากโรคท่ีคุกคาม 2. สนับสนุนให้การดารงชีวิตและการตายเป็นไปตามกระบวนการปกติของชีวิต
3. ไม่เร่งหรือยึดการตาย
4. บูรณาการการดูแลท้ังด้านจิตสังคมและจิตวิญญาณในการดูแลผู้ป่วย
5. มีระบบสนับสนุนท่ีช่วยให้ผู้ป่วยสามารถดารงค์ชีวิตได้อย่างมีคุณภาพชีวิตที่ดีจนเสียชีวิต
6. มีระบบสนับสนุนเพ่ือช่วยให้ครอบครัวสามารถท่ีจะเผชิญความทุกข์ทรมานระหว่าที่ป่วยยังมีชีวิตอยู่และความทุกข์ทรมานจาก การพลัดพรากสูญเสียผู้ป่วย
7. มีการทางานร่วมกันเป็นทีมในการค้นหาความต้องการของผู้ป่วยและครอบครัวและการให้คาปรึกษาแนะนาต่อการพลัดรากสูญเสีย ต่อครอบครัว หากจาเป็น
8. ส่งเสริมคุณภาพชีวิตในแง่บวก
333 สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน)