Page 339 - คุณค่า คุณภาพ คุณธรรม ถอดบทเรียนงานประชุมวิชาการ
P. 339
A3-103
19th HA National Forum
Treat หมายถึง การรักษาความปวด มี 2 แบบ คือ การรักษาโดยใช้ยา (Pharmacological treatments) และไม่ใช้ยา (Non-pharma -cological treatments) การรักษาโดยไม่ใช้ยาจะมีความสาคัญมากข้ึนในอนาคตเน่ืองจากการก้าวสู่สังคมสูงอายุทาให้มีข้อจากัดในการใช้ยา โดยเฉพาะรายที่มีโรคเรื้อรังประจาตัว ในส่วนของการรักษาโดยใช้ยา ปัจจุบันยาระงับปวดแบ่งออกเป็น 3 กลุ่ม Simple analgesics Opioids และ Other analgesics หรือ Adjuvant ผู้ให้การรักษาควรพิจารณาให้ยาตามหลักการ Multimodal Analgesia คือ การใช้ยาระงับปวดท่ีมีการออก ฤทธิ์แตกต่างกันร่วมกัน เพ่ือให้ได้ผลดีท่ีสุด อย่างเช่นกรณีการเลือกใช้ Paracetamal และ NSAID (ยาต้านการอักเสบชนิดท่ี ไม่ใช่สเตียรอยด์) ร่วมกับ Opioids สาหรับระงับปวดหลังการผ่าตัด (Post-operative pain) แม้เป็นการผ่าตัดใหญ่ เพราะ Paracetamal และ NSAID เมื่อใช้ร่วมกับ ยากลมุ่ มอรฟ์ นี จะลดความตอ้ งการใชย้ ากลมุ่ มอรฟ์ นี ลงไดร้ อ้ ยละ 30 เรยี กวา่ Opioid sparing effect สอดคลอ้ งกบั แนวคดิ Opioids free analgesia ซ่ึงเป็นแนวคิดใหม่ในการระงับปวดหลังผ่าตัด สาหรับผู้ป่วยที่มีความปวดจากมะเร็ง องค์การอนามัยโลก (WHO) ได้ประกาศแนวทางการใช้ยาระงับ ปวดตามความรุนแรงของความปวด (WHO analgesia ladder treatment) กล่าวคือ หากระดับความรุนแรงของความปวดน้อย (1-3 คะแนน) ให้ใช้ยาแก้ปวดกลุ่ม non opioids หากระดับความรุนแรงของความปวดปานกลาง (4-6 คะแนน) ให้ใช้ยาแก้ปวดกลุ่มที่เป็น weak opioids และ หากระดับความรุนแรงของความปวดมาก (7-10 คะแนน) ให้ใช้ยาแก้ปวดกลุ่ม strong opioids ได้เลย และสามารถให้ adjuvant analgesic drugs รักษาเสริมได้ในทุกช่วงระดับความรุนแรงของความปวด แต่แนวทางน้ีออกแบบสาหรับรักษาความปวดจากมะเร็งเท่านั้นไม่นาไปใช้ในกลุ่มที่มีความ ปวดที่ไม่ใช่สาเหตุจากมะเร็ง (Non cancer pain)โดยเด็ดขาดเน่ืองจากก่อให้เกิดผลเสียหรืออันตรายต่อผู้ป่วยอย่างมาก ยกเว้น Post-operative pain และ Trauma pain สามารถใช้ได้ในลักษณะ Step - down เริ่มจาก Strong opioids แล้วปรับลดลง (Reverse WHO analgesia ladder treatment) ตามความรุนแรงของความปวด
กล่าวโดยสรุปแล้ว ความปวดนั้นส่วนใหญ่สามารถรักษาได้ด้วยยาที่มีราคาไม่แพงมอร์ฟีน (Morphine) ซึ่งเป็น strong opioids ให้ผลดี อยา่ งยงิ่ ในการรกั ษาความปวดจากมะเรง็ รวมถงึ ความปวดรนุ แรงหลงั ผา่ ตดั ทงั้ นพี้ งึ หลกี เลยี่ งการใชย้ ากลมุ่ Opioids ในการรกั ษาผปู้ ว่ ยทมี่ คี วามปวด ทไี่ มใ่ ชส่ าเหตจุ ากมะเรง็ เปน็ อยา่ งยงิ่ และอปุ สรรคสา คญั ทท่ี า ใหผ้ ปู้ ว่ ยไมไ่ ดร้ บั การบา บดั รกั ษาอยา่ งเหมาะสมเกดิ จากความรแู้ ละทศั นคตขิ องบคุ ลากร
จันทร์ระวี เหล่ารุจิสวัสดิ์
การจัดการความปวดโดยไม่ใช้ยาซ่ึงเป็นหัตถการ Non-invasive procedure ท่ีหน่วยระงับปวด ศิริราชพยาบาลนามาใช้มีทั้งหมด 8 วิธี ผ่านการวิจัยชนิด Meta-analysis จากมหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด ประกอบด้วย
1. Cold and heat สามารถประยุกต์ใช้เพื่อลดความปวดใน burning sensation ได้ในรูปของการประคบเย็นด้วย Cold pack หรือการ นวดด้วยความเย็น (Ice massage) เพ่ือลดปวดบริเวณคอ บ่า ไหล่ และรวมถึงผู้ป่วยที่มีความปวดจากงูสวัด (Herpes zoster) โดยต้องระวังการเกิด แผลไหม้จาก Cold burn จึงต้องควบคุมไม่ให้ความเย็นน้อยกว่า 10 องศา
2. Exercise โดยวิธีการยืด เหยียดกล้ามเน้ือ (Stretching exercise) เพื่อให้กล้ามเนื้อแข็งแรง และการจัดการท่าทาง (Posture) ท่ีถูก ตอ้ งทงั้ ในการทา งานและชวี ติ ประจา วนั โดยเฉพาะแพทย์ พยาบาล ซง่ึ เปน็ หนง่ึ ในสบิ อาชพี ทมี่ โี อกาสเกดิ อาการปวดหลงั เรอื้ รงั เนอื่ งจากขาดการออก กาลังกล้ามเนื้อ และการทางานด้วยท่าทางที่ไม่ถูกต้อง เช่น การยก - เคลื่อนย้ายผู้ป่วย
339 สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน)