Page 341 - คุณค่า คุณภาพ คุณธรรม ถอดบทเรียนงานประชุมวิชาการ
P. 341
A3-103
19th HA National Forum
บทส่งท้าย
ความปวด (pain) เป็นความทุกข์ทรมานและเป็นปรากฏการณ์ท่ีผสมผสานทั้งด้านชีว-จิต-สังคม ค่อนข้างซับซ้อน มีผลกระทบต่อกิจกรรม ในการดาเนินชีวิต จึงถูกจัดให้เป็นสัญญาณชีพท่ี 5 (The fifth vital sign) ผู้ท่ีเก่ียวข้องกับการรักษาหรือบุคลากรทางการแพทย์จึงควรพิจารณา ปัจจัยทางจิตและอารมณ์ของผู้ป่วยร่วมด้วยเสมอในการจัดการความปวดนอกเหนือจากการประเมินทางกายและทางพยาธิสภาพ เพื่อให้การรักษา ครอบคลมุ ทกุ แงม่ มุ ของความปวด และผปู้ ว่ ยไดร้ บั การจดั การความปวดทเ่ี พยี งพอ ซงึ่ การจดั การความปวดนนั้ ตอ้ งอาศยั ความรทู้ างวทิ ยาศาสตรก์ าร แพทย์ และเทคโนโลยที างการแพทยท์ ที่ นั สมยั การระงบั ปวดชนดิ ใหมๆ่ บคุ ลากรทมี สขุ ภาพจงึ จา เปน็ ตอ้ งมกี ารศกึ ษาเพมิ่ เตมิ อยา่ งตอ่ เนอื่ งเพอื่ ตดิ ตาม ความรู้ที่ทันสมัยท่ีสามารถนาไปประยุกต์ใช้ในการวางแผนการรักษาที่เหมาะสมทั้ง Pharmacological treatment และ Non-pharmacological treatment รวมทั้งการมีทัศนคติที่ดีในเรื่องความปวด และการจัดการความปวด เพื่อให้เกิดคุณภาพชีวิตที่ดีแก่ผู้ป่วย และสามารถช่วยเหลือผู้ป่วย ที่มีปัญหาความปวดได้อย่างมีประสิทธิภาพและปลอดภัย
ข้อค้นพบใหม่ทีไ่ด้จากเรือ่ง
การจัดการความปวดด้วย RAT System ซึ่งประกอบด้วย Recognize การรับรู้ว่าผู้ป่วยมีความปวด Assess ท้ังความรุนแรงของความ ปวด (Severity) ประเภทของความปวด (Type) และปัจจัยอื่นๆ (Other factors) ที่ครอบคลุมด้านจิตใจ อารมณ์ สังคมของผู้ป่วย Treat การบาบัด รักษาโดยการใช้ยา (Pharmacological treatments) และไม่ใช้ยา (Non-pharmacological treatments) และประเด็นสุดท้ายต้องมีการประเมิน ซ้า (Reassess) เป็นระยะอย่างต่อเนื่อง
ปจัจัยแห่งความสาเร็จ
1. การผลักดันเชิงนโยบายของผู้บริหารเพื่อให้กระบวนการจัดการความปวดได้รับการนา ไปปฏิบัติท่ัวทั้งองค์กร ท้ังในเรื่องการจัดการ ความรู้ การขจัดอุปสรรคในการเข้าถึงยาระงับปวด ดังตัวอย่างของโรงพยาบาลสงขลานครินทร์
2. มุมมองของบุคลากรผู้ให้การบาบัดรักษาความปวดเรื่องการดูแลอย่างเป็นองค์รวม กาย จิต จิตวิญญาณ และสังคม
3. การจดั การความปวดดว้ ย RAT System หรอื กระบวนการอนื่ ใด ประเดน็ สา คญั คอื ตอ้ งมกี ารประเมนิ ผล และประเมนิ ซา้ อยา่ งสมา่ เสมอ
341 สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน)