Page 354 - คุณค่า คุณภาพ คุณธรรม ถอดบทเรียนงานประชุมวิชาการ
P. 354

B4-103
19th HA National Forum
  ผศ.นพ.กาธร มาลาธรรม
แต่เดิมการจัดการปัญหาเชื้อดื้อยาในโรงพยาบาลดาเนินการโดยใช้มาตรการการควบคุมและป้องกันการแพร่กระจายเชื้อ (IC) ต่อมา มีการส่งเสริมการใช้ยาอย่างสมเหตุผล (Rational Drug Use: RDU) และเข้าใจว่าการดาเนินการเร่ืองการใช้ยาอย่างสมเหตุผลเป็นสิ่งเดียวกับ การจดั การเชอ้ื ดอื้ ยา ทวา่ ในความเปน็ จรงิ การจดั การปญั หาดงั กลา่ วตอ้ งดา เนนิ การควบคกู่ นั ไปหลายมาตรการและจา เปน็ ตอ้ งบรู ณาการความรว่ มมอื ของหลากหลายวิชาชีพ เช่น แพทย์ มีหน้าที่ในการออกแบบแนวทางการป้องกันการแพร่กระจายเช้ือ และควบคุมการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างเหมาะสม พยาบาลมีบทบาทควบคุมแหล่งเช้ือด้ือยา รวมทั้งการจัดการส่ิงแวดล้อมผู้ป่วยทุกคนท่ีมีหน้าที่ในการดูแลผู้ป่วยต้องปฏิบัติตามแนวทางป้องกัน การแพร่กระจายเชื้อ โดยที่การวินิจฉัยเชื้อดื้อยาต้องอาศัยการตรวจทางห้องปฏิบัติการที่แม่นยา ถูกต้อง รวดเร็ว และทั้งหมดนี้ไม่สามารถสาเร็จได้ หากผู้บริหารไม่สนับสนุน
เชื้อดื้อยาในโรงพยาบาลแพร่กระจายผ่านพื้นผิวสัมผัสท่ีมีการปนเปื้อน โดยท่ี “มือ” เป็นช่องทางสาคัญของการแพร่กระจายเชื้อจากบุคล หนงึ่ สอู่ กี บคุ ลหนง่ึ และคนตอ่ ๆ ไป ในการควบคมุ ตอ้ งใชห้ ลกั การของ Standard และ Contact Precaution นนั่ คอื เมอ่ื ใดทสี่ มั ผสั ผปู้ ว่ ยวสั ดอุ ปุ กรณ์ ทอี่ ยกู่ บั ตวั ผปู้ ว่ ยและสง่ิ แวดลอ้ มรอบตวั ผปู้ ว่ ย หมายถงึ มโี อกาสสมั ผสั เชอื้ โรคเสมอ ดงั นน้ั ตอ้ งลา้ งมอื ทกุ ครง้ั สวมถงุ มอื ใชอ้ ปุ กรณป์ อ้ งกนั ทเี่ หมาะสม แยกบริเวณสาหรับผู้ป่วย ท้ังน้ีการใช้ยาต้านจุลชีพโดยไม่จาเป็นหรือไม่เหมาะสมเป็นปัจจัยสาคัญในเติมเช้ือไฟให้สถานการณ์รุนแรงข้ึน
CRE หรอื Carbapenem-resistant Enterobacteriaceae คอื ตวั อยา่ งการควบคมุ การดอื้ ยายากมากทสี่ ดุ แตค่ วบคมุ ยากไมไ่ ดห้ มายความ ว่าควบคุมไม่ได้ ผลการศึกษาทางสถิติพบว่ามาตรการสาคัญท่ีเป็นปัจจัยความสาเร็จในการควบคุมเชื้อดื้อยาชนิดน้ีประกอบด้วย antimicrobial stewardship, environment control, source control, hand hygiene, และ contact precautions นั่นหมายถึงว่าต้องมีหลายวิชาชีพเข้ามา เก่ียวข้อง ดังน้ี
1. Surveillance การเฝ้าระวังเชื้อด้ือยาเป็นหน้าที่ของ Microbiology lab และ IC team
2. Standard care (Hand hygiene and Infection prevention) ทกุ คนทเี่ กยี่ วขอ้ ง หรอื สมั ผสั ผปู้ ว่ ยตอ้ งปฏบิ ตั เิ ปน็ แนวทางเดยี วกนั 3. Antimicrobial Stewardship การควบคุมให้มีการใช้ยาต้านจุลชีพอย่างเหมาะสมโดยผู้บริหาร แพทย์ เภสัชกร คณะกรรมควบคุม
การติดเชื้อ เพื่อไม่ให้เกิดการด้ือยาของเช้ือโรค ซ่ึงการควบคุมน้ีไม่ใช่ควบคุมคนใด หรือกลุ่มใดเป็นการเฉพาะ
4. Source control แหล่งของเชื้อด้ือยาหมายถึงผู้ป่วย เช่น การฟอกตัวผู้ป่วยด้วย chlorhexidine เป็นบทบาทของพยาบาลประจา
หอผู้ป่วย
5. Environment control การจัดการสิ่งแวดล้อมในการดูแลผู้ป่วยผู้มีบทบาทสาคัญ คือ พยาบาล และแม่บ้าน ดังนั้นจะเห็นได้ว่า
การจดั การเชอื้ ดอื้ ยาไมม่ ใี ครสา คญั ทส่ี ดุ ทกุ คนสา คญั เทา่ กนั ตอ้ งมกี ระบวนการจดั การทชี่ ดั เจนในรปู แบบของคณะกรรมการซง่ึ อาจเปน็ ส่วนหน่ึงของคณะกรรมการควบคุมการติดเชื้อ หรือแต่งต้ังแยกต่างหากตามบริบทของโรงพยาบาลแต่ประเด็นสาคัญคือ ผู้บริหาร ต้องเป็นประธานกรรมการ
ดร.พิริยาภรณ์ จงตระกูล
บทบาทของห้องปฏิบัติการจุลชีววิทยา (Role of Microbiology Laboratory) ที่เก่ียวข้องกับการควบคุมเชื้อดื้อยา ประกอบด้วย กระบวนการการเก็บส่ิงส่งตรวจ การรายงานผลท่ีมีคุณภาพ และการส่งต่อข้อมูลผลการตรวจ
กระบวนการการเกบ็ สง่ิ สง่ ตรวจทเี่ ปน็ ภาพฝนั ของหอ้ งปฏบิ ตั กิ ารคอื 1) ตอ้ งวนิ จิ ฉยั ไดร้ วดเรว็ (Rapid detection) ใชเ้ วลานอ้ ยกวา่ 3 ชวั่ โมง แต่ความเป็นจริงในปัจจุบัน ใช้เวลาประมาณ 3 วันในการรอผล 2) สามารถตรวจได้ครอบคลุมท้ังเชื้อแบคทีเรีย เชื้อรา ไวรัส 3) ต้องทาอันตรายผู้ป่วย น้อยที่สุด 4) เป็นการทดสอบที่มีความไวสูง ความจาเพาะสูง 5) ถ้ามีการปนเปื้อน สามารถตรวจสอบได้ 6) ตรวจพบเชื้อแล้วสามารถระบุการดื้อยา ได้ 7) เป็นกระบวนการหรือขั้นตอนที่ง่ายสาหรับผู้ปฏิบัติ 8) สามารถตรวจพบเช้ืออุบัติใหม่ การดื้อยาต้านจุลชีพแบบใหม่ที่ไม่เคยพบมาก่อนได้ แต่ ปัญหาที่มีในปัจจุบันคือ วิธี การวินิจฉัยและวิธีการทดสอบความไวของเช้ือดื้อยาท่ีได้ผลทันต่อเหตุการณ์ ยังไม่สามารถมีใช้ได้จริงในทุกโรงพยาบาล โดยเฉพาะถ้าไม่ได้รับการสนับสนุนจากผู้บริหาร
 สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน)   354


















































































   352   353   354   355   356