Page 355 - คุณค่า คุณภาพ คุณธรรม ถอดบทเรียนงานประชุมวิชาการ
P. 355
B4-103
19th HA National Forum
การรายงานผลที่มีคุณภาพที่ดี และการส่งต่อข้อมูลผลการตรวจ ให้มีประสิทธิผลตามเป้าหมาย โดยใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสม การนาข้อมูล ผลการทดสอบความไวมาจัดทา Antibiogram ท่ีมีคุณภาพ นาไปใช้ให้ตรงกับปัญหาแต่ละหอผู้ป่วย (unit specific) หรือการพัฒนาผ่าน mobile application เป็น Thailand antibiogram ที่มีมาตรฐานเทียบเคียงกับต่างประเทศได้ เพ่ือความรวดเร็วในการเข้าถึง จึงจะช่วยให้สามารถแก้ปัญหา การแพร่กระจายเชื้อด้ือยาได้ทันท่วงที ทั้งนี้แนวคิดหรือหลักการสาคัญของห้องปฏิบัติการจุลชีววิทยา คือ การวินิจฉัยท่ีรวดเร็ว การรายงานผลท่ีมี ประสิทธิภาพ เพื่อให้สามารถนารายงานผลนั้นไปใช้อย่างทันเวลาและทันต่อเหตุการณ์
ภก.รศ.ดร.วิชัย สันติมาลีวรกุล
เปา้ ประสงคต์ ามแผนยทุ ธศาสตรก์ ารจดั การเชอื้ ดอื้ ยาตา้ นจลุ ชพี ของประเทศไทย พ.ศ. 2560-2564 กา หนดให้ การปว่ ยจากเชอ้ื ดอ้ื ยาลดลง รอ้ ยละ 50 และปรมิ าณการใชย้ าตา้ นจลุ ชพี สา หรบั มนษุ ยต์ อ้ งลดลง รอ้ ยละ 20 มกี ารกา หนดแผนการดา เนนิ งานในระดบั นโยบาย ซง่ึ แตล่ ะโรงพยาบาล ตอ้ งนา ไปกา หนดใหเ้ หมาะสมกบั บรบิ ทของตนเอง ทง้ั นกี้ ารปอ้ งกนั การดอื้ ยาไมใ่ ชเ่ พยี งการลดปรมิ าณการใช้ antibiotic ตราบใดทยี่ งั มโี รคตดิ เชอื้ ยา รักษาก็ยังคงต้องใช้ แต่จะใช้อย่างไรให้เหมาะสม โดยอาศัยหลายกลยุทธ์ร่วมกัน หนึ่งในนั้นได้แก่ Antimicrobial Stewardship Program (ASP) ซ่ึงเป็นระบบสนับสนุนการใช้ยาต้านจุลชีพอย่างสมเหตุผล มีหลายมาตรการ เช่น ระบบขออนุมัติก่อนการสั่งใช้ยา การจากัดตารับยา การประเมิน การใช้ยา ขนาดยาและการบริหารยาท่ีเหมาะสม ซ่ึงคณะกรรมการเภสัชกรรมและการบา บัด ควรพิจารณานายาเข้าร่วมกับข้อมูล Antiprograms ของตนเอง เพ่ือเลือกรายการยาที่เหมาะกับบริบทของโรงพยาบาล และกาหนดเกณฑ์ควบคุมการใช้ยาให้เหมาะสม ถัดมาโรงพยาบาลสามารถสร้าง แนวทางเวชปฏบิ ตั ิ(Guideline)การใชย้ ารกั ษาโรคตดิ เชอื้ ในแตล่ ะอวยั วะของตนเองได้เนอื่ งจากแตล่ ะทม่ี ปี ญั หาการดอ้ื ยาไมเ่หมอื นกนั โดยควรเชอื่ ม โยงกับ Antiprograms ส่วนการปรับขนาดยาให้เหมาะสม (Dose Optimization) ท่ีผ่านมาอาจเป็นเร่ืองท่ีถูกละเลย ทั้งที่หากขนาดยาไม่เพียงพอจะ ส่งต่อผลลัพธ์การรักษาของผู้ป่วยและเชื้อโรคจะปรับตัวดื้อยาเพ่ิมขึ้นด้วย สา หรับการเปล่ียนจากยาชนิดฉีดทางหลอดเลือดเป็นชนิดรับประทาน (IV to PO) หรือการปรับเป็นยาฤทธิ์แคบ (de-escalation) เมื่อมีรายงานว่าเชื้อไวต่อยา (documented therapy) เป็นมาตรการท่ีควรทา รวมถึง การใช้ Stratified antiprogram ในสถานพยาบาล ท้ายที่สุดปริมาณการใช้ยาที่คานวณในรูปของ DDD (Defined Daily Dose) จะเป็นข้อมูลสาหรับ โรงพยาบาลในการพิจารณารายการยาเพื่อกากับการใช้ และยังใช้พิจารณาความสัมพันธ์ระหว่างค่า DDD ของยา กับ การดาเนินการควบคุมการใช้ ยาต้านจุลชีพ หรือ อัตราของเชื้อดื้อยาแต่ละชนิดได้
355 สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน)