Page 356 - คุณค่า คุณภาพ คุณธรรม ถอดบทเรียนงานประชุมวิชาการ
P. 356
B4-103
19th HA National Forum
พญ.เพชรดี โอฬารริกสุภัค
โรงพยาบาลน่าน พบผู้ป่วย CRE คร้ังแรกในปี 2557 และเกิดซ้าในปี 2558-2559 ทุกคร้ังสามารถควบคุมให้สงบลงได้โดยใช้มาตรการ การควบคุมเช้ือดื้อยาเป็นปกติท่ัวไป จนกระท่ังในปี 2560 (มกราคม-กุมภาพันธ์) พบการระบาดใน 7 หอผู้ป่วยภายในระยะเวลา 1 เดือน มีจุดเร่ิมต้น จากผปู้ ว่ ยแผนกศลั ยกรรมทางเดนิ ปสั สาวะ และการเคลอ่ื นยา้ ยผปู้ ว่ ยขา้ มแผนก ในเบอื้ งตน้ มกี ารควบคมุ ดว้ ยมาตรการปกตแิ ตไ่ มท่ า ใหส้ ถานการณด์ ี ขึ้น มีการลุกลาม ทีมแพทย์และคณะกรรมการควบคุมการติดเช้ือตระหนักถึงความรุนแรงของสถานการณ์จึงตัดสินใจใช้มาตรการควบคุมการระบาด ด้วยการจัดตั้ง War room เพื่อร่วมกันวางแผนตอบโต้สถานการณ์โดยมีรองผู้อานวยการโรงพยาบาลเป็นประธาน คณะกรรมการประกอบด้วย สหวิชาชีพ รวมถึงแผนกประชาสัมพันธ์ภายใต้การสนับสนุนของผู้บริหาร เนื่องจากต้องใช้งบประมาณจานวนมากในการดาเนิน แต่เป็นการลงทุน ท่ีคุ้มค่าหากต้องแลกด้วยการเสียชีวิตของผู้ป่วย หลักสาคัญในการดาเนินการ คือ minimal contact และ standard care กิจกรรมครอบคลุมเรื่อง การจัดการสถานที่เริ่มด้วยการตรวจยืนยันการวินิจฉัยโดยการทา rectal swab จากนั้นข้ึนทะเบียนผู้ป่วยไว้เพ่ือการจัดการดูแล เม่ือผลตรวจ เป็นลบ 2 ครั้งจึงยกเลิกออกจากทะเบียน จัดการให้ผู้ป่วยเข้าห้องแยกเป็น Cohort Ward ลดการเข้าถึงผู้ป่วย จัดเส้นทางเข้าออกหอผู้ป่วยของญาติ และบุคลากรที่เกี่ยวข้อง ทาความสะอาดสิ่งแวดล้อมในโรงพยาบาล การจัดการคนซึ่งหมายถึงทีมผู้ดูแล จัด Cohort doctor ให้มีแพทย์เฉพาะทาง เท่านั้นในการตรวจเย่ียมผู้ป่วย Cohort nurses แยกพยาบาลในการดูแลผู้ป่วยเฉพาะทีมเฉพาะพื้นท่ี จากัดบุคลากรที่ต้องสัมผัสผู้ป่วย จากัดญาติ ท่ีทาหน้าท่ีเฝ้าผู้ป่วยและผู้มาเยี่ยมให้น้อยท่ีสุด เข้มงวดเร่ืองการล้างมือและการใช้อุปกรณ์ป้องกัน กาหนดแนวปฏิบัติในการดูแลผู้ป่วยโดยลดการ ทาหัตถการที่ต้องสัมผัสกับแหล่งเชื้อด้ือยา ลดการย้ายผู้ป่วยออกจากหอผู้ป่วยโดยไม่จาเป็น นอกจากน้ีให้มีการทบทวนการใช้ยาปฏิชีวนะในผู้ป่วย ทุกรายโดยแพทย์เฉพาะทาง สามารถหยุดการใช้ยาปฏิชีวนะในผู้ป่วยบางรายได้รวมแล้ว 56% ข้อมูลน้ีแสดงว่ามากกว่าครึ่งของผู้ป่วยมีการใช้ยา ไม่เหมาะสม หรือใช้โดยไม่มีข้อบ่งชี้ กาหนดแนวทางการดูแลผู้ป่วยที่จาหน่ายกลับบ้าน มีการประสานกับโรงพยาบาลอาเภอ โรงพยาบาลส่งเสริม สุขภาพตาบลและญาติของผู้ป่วยทั้งเรื่องแผนการรักษาต่อเน่ือง แผนการเยี่ยมบ้าน และการติดตามดูแลกลุ่มผู้ป่วย palliative care เพื่อลดการกลับ มารกั ษาซา้ ในโรงพยาบาล ในกรณตี อ้ งกลบั มารกั ษาซา้ ในโรงพยาบาลสรา้ งชอ่ งทางใหส้ ง่ ผปู้ ว่ ยเขา้ ถงึ หอผปู้ ว่ ยโดยตรง (fast track) เพอื่ ลดการสมั ผสั กับผู้ป่วยอื่น เช่นเดียวกับผู้ป่วยที่รับส่งกลับจากโรงพยาบาลขนาดใหญ่ระดับ A หรือโรงพยาบาลมหาวิทยาลัย หรือแม้แต่การประชาสัมพันธ์ข้อมูล ตอ่ สาธารณชนเพอื่ ลดการเขา้ โรงพยาบาลของประชาชนโดยไมจ่ า เปน็ จากมาตรการทงั้ หมดทไี่ ดด้ า เนนิ การสถานการณก์ ารระบาดของเชอื้ ดอ้ื ยาดขี นึ้ ใน 2 สัปดาห์ แม้ปี 2561 พบผู้ป่วยอีก 4 รายแต่ไม่มีการระบาด
สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน) 356