Page 371 - คุณค่า คุณภาพ คุณธรรม ถอดบทเรียนงานประชุมวิชาการ
P. 371
A4-104
19th HA National Forum
นพ.ยงยุทธ พงษ์สุภาพ
การขบั เคลอื่ นระบบสขุ ภาพอา เภอ (District Health System: DHS) ภายใตค้ า ขวญั UCARE เรม่ิ และมพี ฒั นาการผา่ นการรวมตวั และแลก เปลี่ยนประสบการณ์ ส่งผลต่อพัฒนาการของการพัฒนาเป็นภาคีเครือข่ายทั้งภายในและระหว่างอาเภอ มีการดาเนินการอย่างเป็นระบบและมีความ ต่อเนื่องมาต้ังแต่ปี 2552 เสริมกับการมีการจัดการเรียนเพื่อเพิ่มสมรรถนะการบริหารจัดการระบบสุขภาพอาเภอ (District Health Management Learning : DHML) เร่ิมต้นอย่างเป็นทางการและมีพัฒนาการมาตั้งแต่ปี 2557 ซ่ึงเป็นการจัดการเรียนโดยใช้บริบทเป็นฐาน (Context Based Learning : CBL) ส่งผลต่อความชัดเจนของการมี 3 P กล่าวคือ P ตัวแรก “เป้าหมาย (Purposes : P)” บนพื้นฐานของการสังเคราะห์บทเรียน
จากประสบการณป์ ระกอบดว้ ย ในภาพรวมของทง้ั ประเทศคอื “คนไทยใสใ่ จดแู ลกนั ” และในระดบั อา เภอคอื “คนอา เภอเดยี วกนั ไมท่ อดทง้ิ กัน” ส่วน P ตัวที่สอง “หลักการ (Principles : P)” ประกอบด้วย 1) การมีภาวะการนาร่วม (Collective Leadership) เป็นภาวะการนาที่มีองค์ ประกอบทมี่ าจากทงั้ ภาครฐั -ภาคเอกชน-และภาคประชาชน โดยมสี มรรถนะเงา (การควบคมุ ตนเอง การใหค้ ณุ คา่ ความสมั พนั ธ์ การสอ่ื สาร การนา การ เปลยี่ นแปลง อา นาจ) เปน็ สมรรถนะทต่ี ดิ อยกู่ บั ตวั เหมอื นเงาตามตวั เปน็ สมรรถนะสา คญั ของการทา ใหเ้ กดิ ภาวะการนา รว่ มดงั กลา่ ว 2) การบรู ณาการ (Integration) ควรมีทั้งการบูรณาการด้านการบริการจัดการ และการบูรณาการเชิงปฏิบัติการ 3) เป็นหลักการท่ีมีความสาคัญมากคือ การมีส่วน ร่วม (Participation) บนพื้นฐานของการร่วมคิด-ร่วมทา-ร่วมเรียนรู้ (Participatory Interactive Learning through Actions : PILA) ซึ่งนอกจาก เป็นองค์ประกอบของ P ตัวท่ีสองแล้ว ยังทาหน้าที่เป็น P ตัวที่สาม “การมีส่วนร่วม (Participation : P)” ในองค์ประกอบของ 3P1O อีกด้วย
ดังน้ัน ก่อนการมี 1O กล่าวคือ ก่อนมีการออกเป็นโครงสร้างในรูปของกรอบกฎหมาย หรือการทาให้มี “องค์กร (Organization : O)” รองรับในรูปของ “ระเบียบสานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพัฒนาคุณภาพชีวิตในระดับพื้นท่ี พ.ศ. 2561” ส่งผลให้มี คณะกรรมการพัฒนาคุณภาพ ชีวิตระดับอาเภอ (พชอ.) ในจังหวัดต่างๆ และคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับเขต (พชข.) ในกรุงเทพมหานคร มีพัฒนาการของการมี 3P ท่ี มีความชัดเจน สอดคล้องกับ ทฤษฎี 3P1O ตามแนวคิดของ นพ.ประเวศ วะสี, นพ.สุรเกียรติ อาชานานุภาพ, นพ.อนุวัฒน์ ศุภชุติกุล
การมี พชอ./พชข. จึงเป็นโอกาสของการกระตุ้น-หนุนเสริม-และเติมเต็ม (Boosters) การขับเคลื่อน “ระบบสุขภาพอาเภอ” สู่การขับ เคลื่อน “ความเป็นอาเภอ” มุ่งสู่เป้าหมาย “คนอาเภอเดียวกันไม่ทอดทิ้งกัน” ผ่านการเชื่อมโยงเป็นทีมและภาคีเครือข่าย (Matrix Teams/Links/ Networks) ในทุกอาเภอในจังหวัดต่างๆ และในทุกเขตในกรุงเทพมหานคร เพื่อส่งผลให้สังคมไทยในภาพรวมมีคุณลักษณะของ “คนไทยใส่ใจดูแล กัน (Thailand Caring Society)”
371 สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน)