Page 372 - คุณค่า คุณภาพ คุณธรรม ถอดบทเรียนงานประชุมวิชาการ
P. 372
A4-104
19th HA National Forum
นพ.สุวัฒน์ วิริยพงษ์สุกิจ
ทผี่ า่ นมาโดยบรบิ ทของสงั คมไทยการจะดา เนนิ การ หรอื ขบั เคลอ่ื นเรอื่ งใด มกั จะตดิ กบั ดกั ในการจดั ตงั้ กรรมการ สรรหากรรมการ ทา ใหส้ ญู เสียเวลาโดยท่ีเป้าหมาย (Purpose) หลักการ (Principle) ยังไม่ชัดเจน การมีส่วนร่วม (Participation) ยังไม่เกิดข้ึน แล้วจะตั้งกรรมการได้อย่างไร ประเดน็ นเ้ี ปน็ ประเดน็ ทตี่ อ้ งสอื่ สารใหเ้ ขา้ ใจใหถ้ กู ตอ้ งตรงกนั กอ่ นและบทเรยี นในพน้ื ทอี่ า เภอยะรงั ซงึ่ กลนั่ ออกมาเปน็ หนงั สอื โดยนายแพทยอ์ าลี (นพ. มูหาหมัดอาลี กระโด) จะเป็นบทเรียนที่แสดงให้เห็นความสอดคล้องของการขับเคลื่อนในพ้ืนที่กับทฤษฎีที่นายแพทย์ยงยุทธนาเสนอ กับคาถามที่ว่า ณ เวลานี้อาเภอยะรังบรรลุเป้าหมาย คนยะรังใส่ใจดูแลกัน คนยะรังไม่ทอดท้ิงกัน แล้วหรือยัง
นพ.มูหาหมัดอาลี กระโด
เริ่มต้นในการก้าวจากแพทย์ที่ทางานประจาในโรงพยาบาลออกมาเรียนรู้และทางานระบบสุขภาพชุมชน ผ่านการเรียนรู้หลักสูตร family practice learning (FPL) ระยะเวลา 1 ปีและต่อยอดด้วย DHML โดยที่ต้องก้าวข้ามอุปสรรคหลายส่ิงหลายอย่าง เพราะคิดว่าเรื่องที่ทามีประโยชน์ ตอ่ ประชาชนมาก ในชว่ งแรกยงั ไมม่ กี ารดา เนนิ การในลกั ษณะของเครอื ขา่ ยเปน็ เพยี งการพดู คยุ แลกเปลยี่ นมมุ มองการแกไ้ ขปญั หาสขุ ภาพกบั ชาวบา้ น และผู้นาในละแวกชุมชนที่ลงไปเยี่ยมผู้ป่วยที่บ้านจนต่อมาเริ่มเกิดเป็นทีมเล็กๆ ขยายพื้นที่จากหมู่บ้านเป็นตาบล ออกไปสู่ตาบลอื่นๆ โดยที่พบว่าใน แตล่ ะตา บลมคี วามแตกตา่ ง มจี ดุ เดน่ ตา่ งกนั มคี วามเขม้ แขง็ ตา่ งกนั การพดู คยุ เพอ่ื ตอบโจทยข์ องประชาชนอาจตอ้ งอาศยั กลไกนอกระบบและการคดิ นอกกรอบวิชาชีพที่เราคุ้นเคย ท้ังนี้เพื่อประโยชน์ของประชาชนเป็นการก้าวข้ามจากคนไข้สู่ประชาชน ซึ่งอาเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี มีการนาร่อง ที่ตาบลสะดาวา เป็น “สะดาวาโมเดล: การจัดการผู้ป่วยสุขภาพจิตและจิตเวชในชุมชน”เริ่มจากการปลดโซ่ตรวนผู้ป่วยจิตเวชซับซ้อนในพื้นที่ก่อน จะขยายสู่การจัดการผู้ป่วยจิตเวชฉุกเฉินระดับอาเภอและการส่งต่อภายในจังหวัด โดยการสนับสนุนทางวิชาการและพัฒนาระบบจากจิตแพทย์ใน พื้นท่ี ซึ่งโมเดลน้ีได้มีการนาไปใช้กับพื้นท่ีอื่นๆ ในอาเภอยะรัง และถ่ายทอดสู่อาเภอใกล้เคียง การเรียนรู้สาคัญที่เกิดขึ้นในการขับเคลื่อนดังกล่าวคือ การเกิดทีมจากบุคคลที่ใช่หรือคนที่มีใจเดียวกันเพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ ซึ่งเป็นกลุ่มคนที่เป็น Core Team ที่ต้องมีการหล่อเลี้ยงเพื่อจะก้าวเดินไปด้วยกัน เพราะภายในทีมมีทั้งผู้มีอานาจในชุมชน บางคนเป็นผู้อานวยการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบล นั่นคือต้องมีการสื่อสาร มีการแลกเปลี่ยนความ คิดเหมือนเพื่อนร่วมทีมเพื่อปรับทัศนคติให้ไปในทิศทางเดียวกัน ดังนั้น 3P1O ตามความเข้าใจและประสบการณ์การทา งานปฐมภูมิและ DHS ใน พื้นที่อาเภอยะรัง P แรกคือ Purpose นั้นหมายถึงว่าหากตัวเราต้องการทาเรื่องใดสักหนึ่งเรื่อง purpose อาจยังไม่เกิดอย่างชัดเจนนักในขณะนั้น แต่เราพอจะทราบว่าจะทาเรื่องนั้นเพื่ออะไร และทาอย่างไร หากเปรียบได้กับการวาดรูปนั้น คงเทียบราวกับว่ากาลังจะวาดรูปอะไร วาดอย่างไร แต่ ยังไม่ได้ตั้งเป้าหมายไกลเกินกว่าวาดรูปออกมาหนึ่งรูป เป็นเป้าหมายเฉพาะของคนคนเดียว แต่เมื่อใดที่ทาในภาพของทีม ของคนหลายๆ คน ต้อง กาหนด purpose ที่ลงตัว ต้องรู้จักการหล่อเลี้ยงทีมด้วยทักษะการสื่อสาร โดยใช้ทักษะการฟังเป็นหัวใจหลักของการสื่อสาร “ฟังด้วยหู ฟังด้วย ตา ฟังด้วยสมอง และสาคัญคือฟังด้วยใจ” จะทาให้เกิดความเข้าใจกันในทีมบนพื้นฐานความเท่าเทียม คือ ความเท่าเทียมในความหมายของการที่ เราไม่ได้อยู่เหนือใคร ไม่ได้อยู่ต่ากว่าใคร แต่เราทุกคนมีสิทธิเท่ากัน ลักษณะเช่นนี้จะทาให้ purpose ลงตัว ทุกคนที่อยู่ในทีมไม่ต้องเป็นผู้ตามเสมอ ไป สามารถออกความเห็นได้ สามารถเดินนาได้บนกติกาที่กาหนดร่วม
กัน ผู้นาไม่จาเป็นต้องเป็นใครคนใดตลอดเวลา P ที่สอง Principle คือ
หลักการที่มาจากการเรียนรู้แต่ไม่ใช่การเรียนรู้เฉพาะในห้องเรียน แต่
เป็นการเรียนรู้จากอดีตจากรุ่นพ่อ รุ่นพ่ีถ่ายทอดจากรุ่นสู่รุ่น เรียนรู้จาก
ครูบาอาจารย์หรือเพื่อนร่วมทาง เรียนรู้จากเหตุการณ์จริงจนสุดท้ายจะ
เกิดการเรียนรู้สู่การเปลี่ยนแปลง “ตนเอง” ซึ่งหมายถึงตัวเราเอง และ
ตนเองของแต่ละคนในทีม ซึ่งจะนาพาให้เกิดการขยับขับเคลื่อนของทีม
ผา่ นการมี Participationรว่ มกนั พน้ื ทอ่ี า เภอยะรงั เปน็ ชมุ ชนมสุ ลมิ การทา
เรื่องใดเรื่องหนึ่งที่ไม่ใช่การทาเพื่อตัวเรา แต่ทาแล้วเพื่อเป้าหมายสุดท้าย
อยทู่ ปี่ ระชาชนจะใชห้ ลกั คดิ ในเรอื่ งอคิ ลาส (iklas) คอื ความรว่ มมอื อยา่ งบ
สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน) 372